หน้าเว็บ ปี 2555-2560

Come Back   to  HOME  Lampang
 

"การเดินทางที่ยาวนานเริ่มขึ้นตั้งแต่เมื่อไหร่ไม่รู้ และไม่รู้อีกเหมือนกันว่าวันใดจะสิ้นสุด..รู้แต่ว่าตอนนี้กำลังเดินและกำลังเหนื่อย "

       "ไม่รู้ใครเป็นคนบังคับฉันให้เข้ามาอยู่ในเกมส์นี้ บางทีก็สนุกดีอยากเล่นต่อแต่บางครั้งก็เบื่ออยากหยุดเล่นแต่ก็ทำไม่ได้ "

         เมื่อถอดหน้ากากออกทีไร ฉันก็แทบจำตัวเองไม่ได้ในกระจก แต่จะแปลกอะไร..พรุ่งนี้ก็ต้องใส่มันอีก..ชีวิตคงมีอะไรดีๆ บ้างล่ะ "


   "เมื่อเราเดินทาง แน่นอนเราต้องการจุดหมาย เมื่อเราอยุ่บนโลกที่เต็มไปด้วยการโกหกหลอกลวง  ความจริงก็เป็นสิ่งที่น่าค้นหา
 และชีวิตที่แท้ก็เป็นสิ่งที่มนุษย์ผู้ไม่เที่ยงแท้ปรารถนากว่าทั้งหมด"


 เราต้องโศกเศร้าให้กับความสัมพันธ์ที่แตกหักครั้งแล้วครั้งเล่า ชีวิตที่แท้อยู่ที่ไหน ความสัมพันธ์แท้อยู่ที่ไหน .....

.............................................กลับบ้าน.....

            คุณจะหาพบได้ที่นี่..กลับบ้าน....และที่หัวใจของคุณ...

ยินดีต้อนรับ .จ ลำปาง  Come Back   TO    HOME   โรงเรียนช่างทอผ้า  1  กันยายน 2555 - 2560 เถิด
 

ชีวิตที่แท้อยู่ที่ไหน ความสัมพันธ์แท้อยู่ที่ไหน .....

.............................................กลับบ้าน.....

            คุณจะหาพบได้ที่นี่..กลับบ้าน....และที่หัวใจของคุณ...

พ.ศ. 2480

จังหวัดลำปางได้จัดตั้งขึ้น ใช้ชื่อว่า "โรงเรียนช่างทอผ้า" โดยใช้เงินงบประมาณประชาบาลเปิดทำการสอนช่างทอผ้า เมื่อวันที่ 1 กันยายน 2480

พ.ศ. 2481

  • โอนเข้าสังกัดกรมอาชีวศึกษา ได้รับงบประมาณซื้อที่ดินบริเวณห้าแยกประตูชัย เนื้อที่ 8 ไร่ 2 งาน 56 ตารางวา
  • พ.ศ. 2482

  • เปลี่ยนชื่อเป็น "โรงเรียนช่างเย็บเสื้อและทอผ้า" เปิดสอนวิชาช่างเย็บเสื้อผ้าเพิ่มขึ้นอีกวิชาหนึ่ง
  • พ.ศ. 2491

     
  •  เปลี่ยนชื่อเป็น "โรงเรียนการช่างสตรีลำปาง"
  • พ.ศ. 2501

    ได้รับอนุมัติให้เปิดสอน "ระดับอาชีวะชั้นสูง" โดยรับนักเรียนที่สำเร็จชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6 (มศ.3) เข้าเรียนหลักสูตร 3 ปี เปิดสอนแผนกคหกรรมศาสตร์ สาขาวิชาผ้าและเครื่องแต่งกาย สาขาวิชาอาหารและโภชนาการ สำเร็จการศึกษา ระดับนี้แล้วได้ประกาศนียบัตรประโยคอาชีวศึกษาชั้นสูง
    พ.ศ. 2508
    ได้เข้าอยู่ในโครงการยูนิเซฟ เปิดสอนระดับอาชีวศึกษาชั้นสูงแผนกคหกรรมศาสตร์

    พ.ศ. 2516

    ได้เปลี่ยนชื่อเป็น "โรงเรียนอาชีวศึกษาลำปาง" เปิดสอนแผนก พณิชยการ อีกแผนกหนึ่ง
    พ.ศ. 2519
    ได้รวมกับโรงเรียนการช่างลำปาง เป็นวิทยาลัยอาชีวศึกษาลำปาง (วิทยาเขต 2)
    เมื่อวันที่ 1 ตุลาคม 2519

    พ.ศ. 2522

    ได้ยกฐานะจากวิทยาเขต 2 เป็นวิทยาลัยอาชีวศึกษาลำปาง เมื่อวันที่ 1 มกราคม 2522
    พ.ศ. 2524
    ได้รับอนุมัติให้เหิดสอนระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพเทคนิค (ปวท.)
    ประเภทวิชาบริหาร ธุรกิจ และปิดไปใน พ.ศ. 2536
    พ.ศ. 2525
    ได้รับอนุมัติให้เปิดสอนระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพ (ปวช.) ประเภทวิชาศิลปหัตถกรรม กลุ่มวิชาวิจิตรศิลป์

     

    พ.ศ. 2526

    เปิดเพิ่มกลุ่มวิชาศิลปประยุกต์ ในประเภทวิชาศิลปหัตถกรรม
    พ.ศ. 2527
    เปิด ปวส. สาขาวิชาการบัญชี สาขาวิชาการเลขานุการ สาขาวิชาอาหารและโภชนาการ สาขา วิชาผ้าและเครื่องแต่งกาย ปวท. สาขาวิชาอาหารและโภชนาการ รับนักเรียนที่จบมัธยมปลาย โปรแกรมคหกรรมเข้าเรียนเพิ่ม เพื่อให้ครบหลักสูตร ปวช. สาขาวิชาผ้าฯ อาหาร และคหกรรมฯ
    พ.ศ. 2529
    เปิด ปวท. สาขาวิชาคหกรรมศาสตร์ทั่วไป

    พ.ศ. 2530

    ได้ร่วมกับภาคเอกชน คือ บริษัทเอ็กซ์เซลเอนเตอร์ไพร์ส จำกัด เปิดศูนย์คอมพิวเตอร์ สอนนักเรียน นักศึกษา และบุคคลภายนอก
    พ.ศ. 2535
    เปิด ปวส. สาขาวิชาคอมพิวเตอร์ธุรกิจ และวิชาการตลาด
    พ.ศ. 2536
    เปิด ปวช. ประเภทวิชาศิลปหัตถกรรม กลุ่มวิชาหัตถอุตสาหกรรม เครื่องปั้นดินเผา (เซรามิค)

    พ.ศ. 2537

    เปิด ปวส. (พิเศษ) รับนักเรียนชั้น ม.6 เข้าศึกษาในคณะบริหารธุรกิจ
    พ.ศ. 2538
    เปิด ปวช. ประเภทวิชาพาณิชยกรรม กลุ่มธุรกิจค้าปลีก (ทวิภาคี) และการโรงแรม ซึ่งกลุ่มวิชา การโรงแรมได้ปิดไปใน พ.ศ. 2540
    พ.ศ. 2540
    เปิดภาคสมทบ ปวส. คณะบริหารธุรกิจ สาขาวิชาการบัญชี

    พ.ศ. 2541

    เปิดภาคสมทบ ปวช. สาขาพณิชยการ ซึ่งได้ปิดไป พ.ศ. 2543 และเปิดภาคสมทบ ปวส. สาขาวิชาคอมพิวเตอร์ธุรกิจ แต่ได้ปิดไปในปี พ.ศ. 2543 เปิดหลักสูตรปริญญาตรี ประโยควิชาชีพครูเทคนิคชั้นสูง (ปทส.) สาขาวิชาการบัญชี
    พ.ศ. 2543
    เปิดภาคสมทบระดับ ปวส. สาขาวิชาการตลาด และปิดไปใน พ.ศ. 2544
    พ.ศ. 2544
    เปิด ปวส. ประเภทวิชาศิลปกรรม สาขาวิชาจิตรกรรมสากล และประเภทวิชาบริหารธุรกิจ สาขาวิชาธุรกิจค้าปลีก

       

     พ.ศ. 2546

    เปิดสอนคณะวิชาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี สาขาวิชาเทคโนโลยีสารสนเทศ

    ปัจจุบัน

    ปัจจุบัน วิทยาลัยอาชีวศึกษาลำปาง
    สังกัดสถาบันการอาชีวศึกษาภาคเหนือ 3 สำนักงานคณะกรรมการการอาชีวศึกษา

    .บทความวิชาการ

     

    นับตั้งแต่  วิทยาลัยอาชีวศึกษาลำปาง  ก่อตั้ง  2480 -  ปัจจุบัน 2551 -----อนาคต 2555-2560   80ปี   ...COME.. BACK ..TO..  HOME

    โรงเรียน...ทอผ้า...

     (อาชีวฯศูนย์รวมวิชาชีพ คหกรรม ศิลป พาณิชยการ)เพราะเป็นศูนย์รวมสังคม ชุมชน อาชีพ คุณจะนำสาขาบัญชีเด่น คุณต้องเริ่มวางแผนตั้งแต่ก่อร่างสร้างสถาบัน มิใช่ว่ารับครู -สอนทุกแผนก เสียงบประมาณ ส่งไปอบรมทักษะเพิ่มเติม
     จนชำนาญการ แล้วอยู่ๆ ส่งผอ บัญชี รองบัญชี อีก 3 รวมผอ เป็น 4 แล้วบอกว่า ทรัพยากรมีจำกัด แต่ละสถาบัน ต้อง เน้น สาขาวิชาเด่นวิชาเดียวเพื่อ จัดสรรค่าสอน /ทรัพยากร

    อ้าว แล้วอดีต /ที่เป็นมา ครูทุกคนมีคุณภาพ และสภาพ สังคม ต้องการ คน และผู้เรียน ทุกอาชีพนะ

    วอศ สอนด้านพาณิชยการ (เอกชน เปิด  ล้นบ้าน- ล้นเมือง)
    การอาชีพ สอนคหกรรม   ( ปัจจุบัน มหาวิทยาลัย ต้องหันมาเปิดแฟชั่นดีไซน์ ผ้า สิ่งทอ แทน  ด้วยความตระหนักถึงความสำคัญ)แต่อาชีวฯ  กลับ มองข้าม  สิ่งทอมีปัญหา จึงไม่ให้ความสำคัญ... เดี๋ยวนี้ จึงสวนทาง   นี่คือความมี ส่วน รับผิดชอบ ของสถาบันอย่างหนึ่ง..ที่

    ทำให้  อาชีว..?????)

    ไหนๆ ก็ไหนๆ เปิดหน้านี้แล้ว จะขออนุญาตแสดงความเห็นเกี่ยวกับ ผลงานวิชาการ(ประเภทผู้บริหารสถานศึกษาและผู้บริหารการศึกษา สายงาน บริหารสถานศึกษา..ชื่อตำแหน่ง...ชื่อวิทยฐานะ......สรุปตามความเข้าใจของข้าพเจ้าฯ นะค๊ะ หากไม่ ถูกต้อง ก็กรุณาประชาสัมพันธ์ เกณฑ์ที่ถูกต้องด้วย   ก็ดี  นะค๊ะ   ?????แต่ตามที่ข้าพเจ้า เข้าใจ...สำหรับ ..ภาพลักษณ์ ที่ โดดเด่น  และ ถูกยุบ.. หรือ ไม่ได้ได้การ เอาใจใส่   เพื่อสนองตอบ..สภาพสังคมที่เป็นจริงคือ..ผลงานวิชาการ  บริหารที่กำหนด  ไปอิงกับ วิชาเอกมากเกินไปไหม  เช่น ได้ผู้บริหาร(ตรี)ด้านบัญชี  ก็จะพยายาม ดัน บัญชีให้เด่น

    ผู้บริหารด้านนิเทศศาสตร์  จะดัน R radio  คนพันธ์ อา  หรือ ป.ตรี  เกษตร  ก็จะดัน เกษตร  บางเรื่องก็เหมาะกับ จังหวัด สถานะการณ์

    แต่ที่สำคัญ คือ  ผู้บริหารที่จะช่วยผลักดันด้านภูมิปัญญาท้องถิ่น  ด้านทอผ้า.วิชาชีพ ทอผ้า ฯฯ ที่เริ่มต้น เมื่อ 70-80 ปีก่อน

    อาจจะเป็นเพราะ เกณฑ์วิชาการ ต้อง อิงกับ วุฒิ ปริญญา ตรี(ชีพ) ที่ผู้บริหาร ท่านนั้น จบมา  ...ข้าพเจ้า เข้าใจเช่นนี้ ถูกต้อง หรือ  ไม่

      หากไม่ถูกต้อง..ก็  อี-เมล  บอกให้ข้าพเจ้า ด้วยแล้วกัน 

    จากการสังเกต  เฝ้ามอง  เป็นอย่างนั้นจริงๆ

      ท้ายสุด  ในเหตุผล  ข้อนี้  ข้าพเจ้า ขออนุญาต  แสดง ความคิดเห็นว่า  เมื่อผู้บริหาร  ท่านใด ไม่ว่าจะจบเอกปริญญาตรีด้านวิชาชีพ..บัญชี /ศิลป/เกษตร/นิเทศ/ ช่างยนต์/ เทคนิค  /ประมง ฯฯฯฯฯ    เมื่อท่านก้าวขึ้นมาเป็นสายงาน บริหารการศึกษา..ณ สถาบันใด  จังหวัดใด..ก็น่าจะใช้ความรู้ทางด้านบริหารการศึกษา เป็นเกณฑ์ 100% ที่สมบูรณ์   เช่น  อาจจะมีผอ.ตรีประมง (ตรี/โท บริหารการศึกษา) มีโอกาส ก้าวหน้าในตำแหน่งจากการ บริหารการศึกษาวิทยาลัยอาชีวศึกษา  (คหกรรม/พานิช/ศิลป) ก็ย่อม ได้ หากบริหารแล้ว

    สังคมนั้น มี ความเป็นอยู่ที่ดีขึ้น มีความ ร่มเย็น เป็นสุข น่าจะดีกว่านะค๊ะ ..ขอบคุณค่ะ..

      ที่พูดเช่นนี้..ก็เพราะว่า...  โดยเฉลี่ยแล้ว อัตราส่วน ปัจจุบัน ผู้บริหาร สายคหกรรมผ้าและเครื่องแต่งกาย  น้อยเต็มที..เพราะ

    ครูสายผ้า/อาหาร/คหกรรม/เกษตร..ช่างเรา..จะสามารถ  ยืนด้วยลำแข้ง ของตนเอง..อยู่แบบ..เศษฐกิจ  พอเพียงได้  จะให้ไปสอบแข่งขันกับครู สายพาณิชย์..  น้อยมาก  นอกจาก จะแต่งตั้ง  แต่ก็..นั้นแหละ...หากเป็นลักษณะนี้  ฝาก กคศ. 

    และผู้มีความรู้ มากกว่าข้าพเจ้าทราบ.. เท่านั้น..ข้าพเจ้า..ไม่ได้อยู่ในฐานะ .เป็นผู้บริหาร  ..จึงไม่มีความเข้าใจ..ลึกซึ้ง..ในการทำผลงานวิชาการ..ของผู้ดำรงตำแหน่งสายงานผู้บริหาร....เพียงแค่  เคย เข้าอบรม แล้ววิทยากร เขา แถมๆ ให้เท่านั้น...ข้าพเจ้า

    ได้แต่ฟัง ..ฟัง..ฟัง แล้วก็คิดว่า..มิน่าเล่า  70-80 ปี วิทยาลัยอาชีวศึกษาลำปางจากรร ทอผ้าในอดีต  จึงจะกลายพันธ์ เป็นบัญชี เสียแล้ว  

    ทำให้นึกถึง เกณฑ์ประเมินสถานศึกษา ของสมศ  ข้อที่ว่า  ให้แต่ะสถาบันเขียน เกณฑ์ประเมินตนเอง แล้ว สมศ  มาประเมินรอบ 1  แล้ว พัฒนา ในรอบ 2  แล้วพัฒนา ต่อยอดๆๆ ไปเรื่อยๆ

                          เมื่อ ข้าพเจ้าเป็นครู  ข้าพเจ้า  รับผิดชอบ นักเรียน..

                             เมื่อข้าพเจ้าเป็นสื่อ....ข้าพเจ้าก็ทำเกินหน้าที่..ข้าพเจ้า ก็ มีสิทธิ์..ในการแสดงความคิดเห็น..บ้าง...ถูก ผิด ..ผู้อ่านคงจะตัดสิน..และ ผู้ที่จะตัดสินได้ดีที่สุด  คือ..สังคมยั่งยืน..ตามที่..ผู้ใหญ่ ก่อตั้ง โรงเรียนทอผ้า ไว้ให้ อาชีว ต่อยอด และดูแล

    หรือว่า สังคม ไม่ต้องการ เขาไปประกอบอาชีพอะไร ที่ยั่งยืนกันหรือ  ก็ เปล่า  เขายังยากจนอยู๋  แต่ขาดคนต่อยอด และรับผิดชอบ เขา /สังคม ต่างหาก เนื่องจาก.. เกณฑ์กคศ.ดังกล่าว

    ยังมีอีกอย่างที่อยากจะเขียน ให้หมดเปลือก..หายข้อข้องใจ ใน การบริหาร จัดการอาชีว..คือ...

    คิดได้ไง................เป็นชื่อตอนค่ะ.....

           ข้าพเจ้า ก็ รู้ว่า เราคหกรรม สั่งสม ราก ขมขื่นเอาไว้...เพราะเป็นงานด้านที่สามารถยืนด้วยลำแข้ง ตนเองได้ ..ทางสถาบันการศึกษา..ที่ต้องเลี้ยงดูตนเอง..ก็จะใช้วิธีบูรณาการ   ครูแผนกผ้าฯเย็บผ้า  ค่าแรงถูกไม่สนับสนุนให้ผู้เรียนเข้าเรียน    สำหรับครูพาณิชยการ จะมีรายได้จาก ค่าคอมมิชชั่นจากแผนกผ้า+อาหาร+ค่าสอนภาคบ่าย)  สำหรับครูด้านผ้าได้ค่าแรงถูกๆ

    ข้าพเจ้าสรุป..ได้เลยว่า เป็นเพราะถูก  ระบบการจัดการที่เอาเปรียบและระบบการบริหาร  ทีขาดความรับผิดชอบต่อสังคมที่ยั่งยืน

    ข้าพเจ้า ก็ รู้ว่า เราคหกรรม สั่งสม ราก ขมขื่นเอาไว้...มันอาจจะ ประทุ เข้าสักวัน...ส่วนข้าพเจ้าประทุแล้ว.. ..นั้นก็คือ ภาพลักษณ์ ขององค์กร..อาชีว..ที่ก่อตั้งจนถึงปัจจุบัน...น่าสนใจ  บทความ..สมศ. กล่าวถึง อาชีวศึกษาในต่างประเทศ(นิวซีแลนด์) เขาไม่มี .คลิ๊กอ่านที่นี่    ข้าพเจ้า ก็ คิดว่า ...เพลงนี้อาจจะกลับมาฮิตอีกครั้ง.......คือ  เพลง...ต้องมี สัก วัน  ต้อง  มี สักวัน  .....กับ การบริหาร  แล้ว  ไม่ต้อง รับผิดชอบ เหมือน ได้ เงินประจำตำแหน่ง คือ เกษียณก็ หายไป เช่น  เดียวกัน...

    หาก ช่วงนี้  ท่านที่กำลังเป็นผู้บริหาร  มีอำนาจ  ยังไม่ดำเนินการแก้ไข....อนาคตข้างหน้า..

     คำว่า คุณธรรมนำความรู้ จึงเป็น วาระแห่งชาติ ...  สืบต่อ  ไป    คนจนก็จนต่อไป..งเด็กจบบัญชี..ก็เป็น ลูกจ้าง  พนักงาน จากพ่อ จากแม่

    จากหมู่บ้าน  กระจาย จากพื้นที่ ถิ่นกำเนิด  ไปทำงาน..ต่างถิ่น   ลำปาง   จะอยู่ กันอย่างไร  

    ควรจรรโลง วิชาชีพให้หลากหลาย.ไว้.....แก้ปัญหายากจน อย่างยั่งยืน อย่างจริงใจ และเห็นกับอนาคตของเด็กในวันนี้ กับอนาคตในวันข้างหน้า.  กันเถิด..อย่าเห็นกับ จำนวนเด็ก - ห้อง..ค่าตอบแทน ..ภาคบ่าย กันเลยค่ะ.(  พี่น้อง ชาวลำปาง . ยังนิ่งดูดายกันอยู่ได้...นะ ) อ่านต่อคลิ๊กที่นี่

     

     

     
     

     

     

     

    คลิ๊กฟังเพลงไทย...จากใจคนทำเว็บค่ะ

    และ...สุดท้าย ค่ะ..ขณะนี้  ปีปีหนึ่ง  สถาบัน อาชีวศึกษาทุกแห่งต้องตั้งงบ ไปเที่ยวต่างประเทศ กัน มากมายไร้สาระ

      ไม่เคยเห็นนำมาใช้ให้มีประโยชน์อะไรกับการศึกษาเลย ............สักเรื่อง

     ข้าราชการอาชีวศึกษาใช้เงินภาษีราษฎรไปเที่ยวต่างประเทศโดยทำโครงการอันสวยหรู ว่าดูงาน

    ทัศนศึกษา  .เสียดายงบ..  หลัง เกษียณ แล้ว..ข้าพเจ้า  .จะไม่ทำเด็ดขาด

     

    แก้ไขครั้งสุดท้าย24..6.2008

    ครม.มีมติตั้ง 'กรมหม่อนไหมฯ' เฉลิมพระเกียรติพระราชินีฯ ในฐานะทรงฟื้นฟูการทอผ้า

     

    ผู้อ่าน 117 คน วันที่ 05 สิงหาคม 2551 เวลา 22:24:25 น. ส่งข่าวให้เพื่อนส่งข่าว พิมพ์ข่าวพิมพ์ข่าว

    -  ขนาดข้อความ  +

     
     
    ตั้ง 'กรมหม่อนไหมแห่งชาติ' เฉลิมพระเกียรติพระราชินี ในฐานะทรงฟื้นฟูการทอผ้า ครม.เห็นชอบขยายสถานะสถาบันหม่อนไหมเป็นกรมใหม่สังกัดกระทรวงเกษตรฯ ทำหน้าที่ศึกษาค้นคว้าวิจัยพันธุ์ส่งเสริมการส่งออก อนุมัติงบฯ1,999ล้านปลูกป่า9.7หมื่นไร่สร้างฝายต้นน้ำถวาย

    คณะรัฐมนตรี (ครม.) มีมติเมื่อวันที่ 5 สิงหาคม เห็นชอบให้มีการจัดตั้งกรมหม่อนไหมแห่งชาติ มีฐานะเป็นส่วนราชการระดับกรม ในกระทรวงเกษตรฯ และให้ส่งร่าง พ.ร.บ.ปรับปรุงกระทรวง ทบวงกรม (ฉบับที่...) พ.ศ...ให้สำนักงานกฤษฎีกาตรวจพิจารณาเป็นเรื่องเร่งด่วน แล้วส่งให้คณะกรรมการประสานงานสภาผู้แทนราษฎรพิจารณาก่อนเสนอสภาผู้แทนราษฎรต่อไป ทั้งนี้ เพื่อเป็นการเฉลิมพระเกียรติสมเด็จพระนางเจ้าสิริกิติ์ พระบรมราชินีนาถ ในฐานะทรงเป็นผู้ฟื้นฟูเรื่องการทอผ้า ซึ่งเป็นเรื่องสำคัญที่จำเป็นจะต้องมีหน่วยงานที่เชี่ยวชาญเฉพาะขึ้นมาดำเนินการ เช่นเดียวกับการตั้งกรมการข้าวไปแล้ว ซึ่งทำให้การส่งออกข้าว การพัฒนาพันธุ์ข้าวดีขึ้น ดังนั้นเรื่องการทอผ้า จะได้มีหน่วยงานขึ้นมาดูแล เพราะถือเป็นหนึ่งในสินค้าส่งออกที่สำคัญ

    รายงานข่าวแจ้งว่า กระทรวงเกษตรและสหกรณ์ ในฐานะเจ้าของเรื่อง รายงานว่า การดำเนินงานของสถาบันหม่อนไหมแห่งชาติเฉลิมพระเกียรติสมเด็จพระนางเจ้าฯ ยังไม่สามารถดำเนินงานให้เกิดประสิทธิภาพ เนื่องจากสถาบันฯเป็นเพียงหน่วยงานระดับกอง ขาดแคลนทั้งบุคลากรผู้เชี่ยวชาญเฉพาะทาง งบประมาณ และความเป็นเอกภาพในการประสานงาน จึงจำเป็นต้องยกระดับให้เป็นส่วนราชการระดับกรม เพื่อเป็นหน่วยงานหลักในการศึกษา ค้นคว้า วิจัย วิเคราะห์ สาธิต ส่งเสริม และพัฒนาอุตสาหกรรมหม่อนไหมให้เป็นระบบ ครบวงจร โดยให้โอนบรรดากิจการ อำนาจหน้าที่ งบประมาณ สิทธิ หนี้และภาระผูกพันทั้งปวง รวมถึง ข้าราชการ พนักงานราชการ ลูกจ้าง และอัตรากำลังสถาบันหม่อนไหมแห่งชาติฯ ไปสังกัดกระทรวงเกษตรฯ

    พล.ต.ท.วิเชียรโชติ สุกโชติรัตน์ โฆษกประจำสำนักนายกรัฐมนตรี แถลงว่า ในวันอังคารที่ 12 สิงหาคมนี้ ซึ่งตรงกับโอกาสวันเฉลิมพระชนมพรรษาของสมเด็จพระราชินีฯ และเป็นวันหยุดราชการ จะไม่มีการประชุม ครม. แต่นายกรัฐมนตรีได้กำชับให้ ครม.ทุกคนไปร่วมงานพระราชพิธีที่เกี่ยวข้องต่างๆ โดยพร้อมเพรียงกัน

    ด้าน น.ส.วีรินทร์ทิรา นาทองบ่อจรัส รองโฆษกประจำสำนักนายกรัฐมนตรี กล่าวเสริมว่า นอกจากนี้ ครม.ยังอนุมัติตามที่กระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม เสนอ โครงการรักษ์น้ำ รักษ์ป่า ร่วมใจ ถวายพระแม่ของแผ่นดิน เพื่อปลูกป่าถวายสมเด็จพระราชินีฯ โดยดำเนินการในปี 2551 ประกอบด้วย 1.ปลูกป่า 3 อย่าง ประโยชน์ 4 อย่าง จำนวน 6.6 หมื่นไร่ 2.ปลูกป่าหวาย 3 อย่าง ประโยชน์ 4 อย่าง จำนวน 3.1 หมื่นไร่ 3.สร้างฝายต้นน้ำแบบตาข่ายคลุมหินทิ้ง จำนวน 5 พันไร่ 4.งานติดตามและอำนวยการโครงการฯ โดยให้อนุมัติเบิกจ่ายงบฯโครงการ 1,999 ล้านบาท แบ่งเป็น งบฯรายจ่ายประจำปีงบประมาณ 2551 จำนวน 391 ล้านบาท ปรับงบฯรายจ่ายประจำปี 2551 จำนวน 56.558 ล้านบาท ตั้งกรอบงบฯรายจ่ายประจำปี 2552 จำนวน 1,551 ล้านบาท 

    สำหรับวาระงานของนายกรัฐมนตรี ในวันที่ 6 สิงหาคม เวลา 09.30 น. จะไปวัดยานนาวา ถนนเจริญกรุง เป็นประธานพิธีบวชสีลจารี และสีลจาริณี อันเป็นโครงการเฉลิมพระเกียรติสมเด็จพระราชินีนาถ เนื่องในโอกาสทรงเจริญพระชนมาพรรษา 76 พรรษา

    ที่กรมประชาสัมพันธ์ นายจรินทร์ สวนแก้ว ประธานมูลนิธิ 5 ธันวามหาราช แถลงข่าวการจัดงาน "12 สิงหาพระบรมมหาราชินีนาถ" ระหว่างวันที่ 12-13 สิงหาคม ณ บริเวณมณฑลพิธีท้องสนามหลวง ว่า เน้นกิจกรรมพิธีถวายเครื่องราชสักการะ จุดเทียนชัยถวายพระพร และถวายราชสดุดีเฉลิมพระเกียรติ อย่างสมพระเกียรติ โดยทูลกระหม่อมหญิงอุบลรัตนราชกัญญา สิริวัฒนาพรรรณวดี จะเสด็จทรงเป็นประธานในพิธี สำหรับปีนี้งดกิจกรรมบันเทิงต่างๆ อาทิ การจุดพลุ การแสดง เป็นต้น เนื่องจากยังคงอยู่ในช่วงถวายอาลัยสมเด็จพระเจ้าพี่นางเธอ เจ้าฟ้ากัลยาณิวัฒนา กรมหลวงนราธิวาสราชนครินทร์

    http://www.matichon.co.th/news_detail.php?id=44346&catid=1
     

     

     

     

     

     

     

     

     

     

     

     

     

     

     

     

     

     

     

     

     

     

     

     

     

     

     

     

     

     

     

     

     

     

     

     

    เทคนิคการทอผ้าพื้นเมือง



    หลักสูตรการทอผ้าพื้นเมือง




     ข้าพเจ้าขอรับการสนับสนุนฟื้นฟู การทอผ้าไทย  โดยใช้เครื่องทอผ้าที่ทันสมัย   10  เครื่อง  รายละเอียดตาม

    (ภาพและ linksด้านล่าง) นี้  

    ค่ะ....ขอกราบขอบคุณ  มา ณ โอกาสนี้..เป็นอย่างยิ่ง     สุรภี

    หมายเหตุ  หากงบไทยเข้มแข็ง ปี2553  เหลือ ก็จะเป็นการดียิ่ง  ค่ะ กราบขอบพระคุณทั้ง  4 ท่าน มาณ โอกาสนี้ด้วยค่ะ





    แหล่ง


    http://www.silkweavinghobby.com/customize_0_34338_EN.html3


    6.8.08

            http://www.industrialclothingdessign.com/   สนับสุนนการปฎิรูปการศึกษาทั้งระบบ

                                             เน้นหลักสูตร การเรียนการ-สอนอาชีวศึกษา /วิทยาลัยเทคนิค/วิทยาลัยการอาชีพ/วิทยาลัยสารพัดช่าง ทั่วประเทศ 

                                              เดินตาม พ่อของแผ่นดิน

                                             โครงการพระราชดำริห์

                                            และ

                                           เดินตามแม่ของแผ่นดิน 

                                          ศูนย์ศิลปาชีพ อย่างจริงจัง

                                                                  

                                                 สิ่งที่ข้าพเจ้าเป็นห่วงที่สุดคือ  1  ใน 12 ข้อ ตาม นโยบาย สอศ.  ในข้อ   เดี๋ยวไปหาก่อนค่ะ จะกลับมาเขียนใหม่

    เกี่ยวกับ เด่นอย่างเดียว  ไม่ทราบขัอไหน    

      คือ นโยบาย สถานศึกษานำร่อง  เช่น

    วอศ แพร่ นำร่อง ด้าน ผ้า ...  ครู ผ้า+นรสนใจเรียนผ้า กี่คน  ขณะที่ ครูผ้ากระจายทุกวิทยาลัยอาชีวทุกจังหวัด (ในอดีตมีความพร้อม มี บรรจุ โครงการศิลปาชีพ กระจายทั่วทุก จังหวัด คุณนำนโยบายนี้ไปกีดกัน (เพื่อข้อจำกัดในงบประมาณ จะได้ ทุ่ม ดัง เด่น เต็มที่ )ไม่ถูกต้อง    คุณไปอั้น ครูชำนาญการวิชาชีพอื่น ไม่แสดงการสนับสนุนเช่น เปลี่ยนชื่อ ผ้าเป็นอย่างอื่น  

     

      โอ้      เบื่อ.......  ซ้ำ ซาก  ว่างๆ จะมาลบ  หรือ ไม่ก็จะ มาเขียน ต่อ แล้วกัน  อนาคต ยังอีกไกล  อยู่แต่ว่า  ใคร จะไปก่อน ใคร แล้วกัน   

    ข้าพเจ้าขออนุญาตแสดงความคิดเห็น     ว่า  ถ้าตามที่ข้าพเจ้าเข้าใจก็เป็นห่วง  ว่า ในอนาคต จะ กู้ คืน ได้ยาก  เหตุผล

    1.ทักษะความชำนาญ ไม่ได้รับการถ่ายทอด ครูเกษียณ ไป 

     

    ยินดีต้อนรับ     สู่......... เส้นทาง  ..อาชีพ   ..Designer.........ชื่อ...................นามสกุล.....................ชั้น/ห้อง....
     บ้านเลขที่.........ถนน......................ตำบล........................อำเภอ....................จังหวัด..................ศาสนา...........ชาวเขาเผ่า........              
     นักออกแบบเสื้อผ้าจึงเป็นส่วนสำคัญที่จะต้องรักษาฐานตลาดของไทยไว้ทั้งใน เชิงรุกในการผลิต สร้างเครือข่าย ทั้งระบบข้อมูลข่าวสาร
     และ เครือข่ายจำหน่ายสินค้า
      แนวทางอาชีพ อื่นๆ
        - นักออกแบเสื้อผ้าแฟชั่นและสิ่งทอ
        - นักออกแบบเครื่องแต่งการสำหรับการแสดง
        - นักออกแบบลวดลายบนสิ่งทอ
        - นักออกแบบการแสดงสินค้า
        - นักออกแบบอิสระ
        - นักออกแบบคอมพิวเตอร์กราฟฟิค
        - ควบคุมการผลิดเสื้อผ้าสำเร็จรูป
        - ควบคุมงานแผนกรีดและบรรจุ
        - รับราชการในกรมพลาธิการทหาร
        - รับราชการครู
        - ธุรกิจส่วนตัวด้านเสื้อผ้าสำเร็จรูป
        - รับสอนงานสิ่งทอที่เกี่ยวข้อง
        -  ช่างเทคนิคด้านการย้อม-พิมพ์ สิ่งทอและการตกแต่ง
        - ช่างเทคนิคด้านการทดสอบและวิเคราะห์สิ่งทอ
        - ช่างเทคนิคด้านการควบคุมคุณภาพและวางแผนการผลิด
        - นักวิจัยพัฒนาผลิตภัณฑ์
        - พนักงานขายสีการเคมีและเครื่องจักร
        - งายราชการและรัฐวิสาหกิจ
        - อาชีพอิสระและงานธุรกิจสิ่งทอเชิงพาณิชย์อื่นๆ
           
       โอกาสความก้าวหน้าในอาชีพ
     
      ปัจจัยที่ทำให้ผู้ที่ประกอบอาชีพนี้ประสบความสำเร็จและก้าวหน้าในอาชีพ ก็คือการคงไว้ซึ่งการเป็นนักออกแบบเสื้อผ้าหรือแฟชั่นดีไซเนอร์ไว้
     ซึ่งต้องใช้โอกาสเวลา และค่าใช้จ่ายในการผลิต และการแสดงผลงานที่มีต้นทุนต่ำให้เป็นไปอย่างมีประสิทธิภาพและเต็มศักยภาพ
    นักออกแบบแฟชั่นไม่ควรย่ำอยู่กับที่ควรมีความคิดเชิงรุกมากกว่ารับไม่เพียง แต่รับในคำสั่งจากลูกค้าอย่างเดียวควรศึกษาหาความรู้ที่เกี่ยวข้อง
    กับการประ กอบอาชีพและควรสร้างโอกาสให้ตนเอง เช่น การศึกษาภาษาต่างประเทศเพิ่มเติม ศึกษาด้านการตลาด ความต้องการของลูกค้า กลุ่ม
    เป้าหมายลูกค้าใหม่ เสาะหาแหล่งตลาดวัตถุดิบ เพิ่มประสิทธิภาพการผลิตที่ครบวงจร สร้างแนวโน้มแฟชั่น ศึกษารูปแบบของสินค้าจากต่างประเทศ
    และข้อกีดกันทางการค้า ซึ่งเป็นปัจจัยในความก้าวหน้าทันโลก และยืนอยู่ในอาชีพได้นาน และอาจสร้างผลงานที่คนไทยภูมิใจหันมาใส่เสื้อผ้าที่ผลิต
    โดยนักออกแบบเสื้อ ผ้าไทยกันทั่วประเทศ
                                    


      www.industrialclothingdesign.com.open room ....by..surape-e@hotmail.com

                                                                                                                      

     

    นศ.สาขาออกแบบเสื้อผ้า ปี2553 ชคผ53.1จำนวน24คน

     

     

     

     

     

    วิชา37401-0101 การพัฒนางานด้วยระบบคุณภาพและพิ่มผลผลิต      ชั้น สคผ.52.1 ปีการศึกษา2553

    สาขาวิชาเทคโนโลยีผ้าและเครื่องแต่งกายวอศ.ลำปางร่วมกับศูนย์สงเคราะห์และฝึกอาชีพสตรีภาคเหนือ จ.ลำปาง

    นำเสนอการเรียน-การสอน โดยเน้นการประเมินผลปฎิบัติตามสภาพจริง

  • โครงการ...แลกเปลี่ยนการเรียนรู้..สอนเป็นเรื่อง..สอนเป็นชิ้นงาน..สอนเป็นโครงการ
  • โครงการ...แลกเปลี่ยนการเรียนรู้..สอนเป็นเรื่อง..สอนเป็นชิ้นงาน..สอนเป็นโครงการ
  •  

     

     

     

    ประธาน"กอศ."บุกร้องนายกฯอภิสิทธิ์ ขรก.ถูกแกล้ง - จี้คลอดสถาบันอาชีวะ 

              นายธีรวุฒิ บุณยโสภณ อธิการบดีมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าพระนครเหนือ (มจพ.)ในฐานะประธานคณะกรรมการการอาชีวศึกษา(กอศ.) เปิดเผยว่า ตนได้เข้าพบนายอภิสิทธิ์ เวชชาชีวะ นายกรัฐมนตรี เมื่อเร็วๆ นี้ เพื่อยื่นเอกสารมติที่ประชุมคณะกรรมการ กอศ. เพื่อเร่งรัดเรื่องการจัดตั้งสถาบันการอาชีวศึกษาแบบกลุ่มจังหวัด(Area Base) 10 แห่งทั่วประเทศ เนื่องจากขณะนี้สถานศึกษาสังกัดสำนักงานคณะกรรมการการอาชีวศึกษา (สอศ.) ที่มีอยู่ 415 แห่ง กำลังประสบ********1..ปัญหาเรื่องของคุณภาพผู้เรียน ที่เมื่อเรียนจบออกไปแล้วไม่สามารถทำงานได้ตามที่สถานประกอบการต้องการ ดังนั้น โดยหลักการจะต้องมีการกระจายอำนาจจากส่วนนโยบายสู่ส่วนการปฏิบัติการ เพื่อให้มีความคล่องตัว รวดเร็ว และมีประสิทธิภาพ ทั้ง***2...ด้านการเรียนการสอน งบประมาณ และบุคลากร ที่ต้องเน้นการใช้ทรัพยากรร่วมกัน จึงต้องรีบจัดตั้งสถาบันการอาชีวศึกษาทั้ง10 แห่งดังกล่าว ตามคำแนะของสำนักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา เพื่อให้ครอบคลุมทุกภูมิภาคและจะทยอยจัดตั้งให้ครบ 19 แห่งต่อไป โดยได้รับการบรรจุอยู่ในแผนการศึกษาแห่งชาติฉบับปรับปรุง พ.ศ.2552-2559 และนโยบายการปฏิรูปการศึกษาในทศวรรษที่สอง พ.ศ.2552-2561 โดยคณะรัฐมนตรี (ครม.) มีมติให้ความเห็นชอบแล้วเมื่อวันที่ 5 มกราคมที่ผ่านมา
              ประธาน กอศ.กล่าวต่อว่า ถือเป็นสัญญาณที่ดีที่นายกรัฐมนตรีรับปากว่า จะดูแลเรื่องนี้ให้อย่างไรก็ตาม ต่อจากนี้ไปนายกรัฐมนตรีต้องสั่งการมายังรัฐมนตรีว่าการกระทรวงศึกษาธิการ(ศธ.) เพื่อดำเนินการเร่งรัดการจัดตั้งต่อไป ซึ่งขณะนี้การดำเนินการในเรื่องนี้ยังไม่มีความคืบหน้าเลย ทั้งนี้ ตนยังมอบข้อมูลข้อร้องเรียนต่างๆ
              ที่คณะกรรมการ กอศ. ได้รับจากผู้บริหารสถานศึกษาที่ถูกคำสั่งโยกย้ายอย่างไม่เป็นธรรม และถูกกลั่นแกล้ง ให้แก่นายอภิสิทธิ์ด้วย ซึ่งนายก
              รัฐมนตรีก็รับปากด้วยว่า จะให้ความเป็นธรรมกับข้าราชการทุกคน--จบ--
    ที่มา : มติชน ฉบับวันที่ 18 ก.ย. 2553 (กรอบบ่าย)—xml:namespace prefix = o />xml:namespace prefix = o />xml:namespace prefix = o />

    ***************************************************************************************

    แบบแสดงความคิดเห็นร่างแผนยุทธศาสตร์การพัฒนาอาชีวศึกษา (พ.ศ.2552 - 2561) 

    Written by : Webmaster, ข้อมูลจาก : สนผ.    

    Monday, 13 September 2010 17:2

     

     

    อาชีวศึกษา ..1**ในอดีต.ข้าราชการ สอศ.ที่ต้องการเติบโต เป็นผู้บริหาร..ในสอศ. ก็จะต้องไปเซอ..เวย์..สถานที่ต่างอำเภอ.. เพื่อจัดตั้งสถานศึกษา อาชีวแห่งใหม่ ขึ้น  เช่น วิทยาลัยการอาชีพ..เป็นต้น..เพื่อเป็นผลงาน..

    ***2...ปัญหา อาชีวศึกษา จึงเกิดขึ้นเพราะ.ไม่มีความชัดเจน..ว่า วชวิทยาลัยสารพัดช่าง...จังหวัด.ตั้งขึ้นมา..เพื่อ.สอนทุกช่างหลักสูตรระยะสั้น.......ทำไมล้มเหลว  ชั่วโมงละ 1 บาท  ?????.อะไร????   สภาพปัจจุบัน  คือ เปิดสอน ปวช.ปวส.แข่งกับวท  วิทยาลัยเทคนิค??????สถานศึกษา ก็ตั้งอยู่เขต.. อำเภอเมือง???

    ***3วก.วิทยาลัยการอาชีพ..ตั้งอยู่ต่างอำเภอ..... ตั้งขึ้นมา..ทำไม????บางโรงอยู่ห่างจากอำเภอ เพียง 10 กว่า กม. เท่านั้น เปิดสอน ปวช.ปวส.?????

    ด้วยเหตุ1**+2**+3***กลายเป็นว่า..เกิด ตำแหน่งผู้อำนวยการสถานศึกษา ขึ้นมาเป็นดอกเห็ด บวกกับรองผู้อำนวยการอีก สถานศึกษาละ 4 คน**สุดท้าย.....ก็ไม่เกิดผลงานที่สร้าง...ให้เป็นตามความตั้งใจ...การเพิ่มปริมาณ  กับการที่จะนำสถานศึกษาประเภทวช.และวก  ให้ใหญ่ เท่าๆกับวอศ.และ วท.   จึงเป็นสาเหตุหนึ่งที่เกิดการโยกย้ายและร้องเรียน กันขึ้น...แบ่งชั้น แบ่งศักดิ์ศรี....กัน...และที่สำคัญ ก็คือ..............

    หาวิธี ละลายน้ำแข็ง...ด้วยการ มารวมกัน  เพื่อจัดตั้งสถาบัน   ดังกล่าว ??????????.........ใช่หรือไม่????????????

    **เอ่..มาเขียนถึงตรงนี้ ข้าพเจ้า..คิดถึงเพลง 2 เพลงที่เป็นคำตอบ หรือ คำถาม   ก็ได้

    เพลงที่ 1.คือเพลง  บนเส้นทางอาชีวศึกษา  *********มุ่งมั่น ตรงสายอาชีพ   ผลิตกำลังคนเพื่อสร้างชาติ ไปเลย เหมือนประเทศจีน คอมมิวนิสต์ คือ  วางแผน ฝึกคน แล้วสร้างอาชีพ ตั้งแต่ปวช ต่อ ปวส ต่อ ป.ตรี และ ป. โท ป. เอก ไปเลย  แล้วให้เขาสร้างคนรุ่นต่อไป?????

    เพลงที่2. คือเพลง  ทำไมถึงทำ กับ ฉันได้ ???? ข้าพเจ้าสมมติว่า เป็นประเทศไทย  ..ข้าพเจ้า***น่าจะเจ็บปวด***ที่ต้องร้อง เพลงๆนี้ ให้กับ ผุ้ที่ คิด***ตาม1**+2**+3++เพราะไม่เกิเผลดีใดๆกับประเทศ  

    ข้าพเจ้าคิดเอง  เออเอง   ตามประสี และไม่ประสา  ด้วยประการฉะนี้แล.............

    **ต่อไปเป็นการวิเคราะห์

    ข้าพเจ้า..ขออนุญาตแสดงความคิดเห็นดังนี้.****แยก คณะบริหารธุกิจ+สารสนเทศ  ไปอยู่สถานศึกษา หนึ่ง

    และคณะคหกรรมศาตร์+ศิลปะ   อยู่อีกสถานศึกษา หนึ่ง  ไปเลย

    ******แล้วต่างคน ต่างสร้างงาน สร้างอาชีพ  บริหาร จัดการ  ให้ดีๆ   แล้วเรามาผนึกกำลังสร้างอนาคตของชาติไปพร้อมๆกัน......

    ไม่จำเป็นต้องมา เด่นเฉพาะทาง ด้วยวิธีเล่ห์เหลี่ยม เหมือนในสภาพ วอศ.ลำปางปัจจุบัน******

    สุดท้าย***การบริหารแบบนี้**สอศ.จะพัง????ทั้งระบบ ???เมื่อเป็นเฉก เช่นนี้แล้ว ข้าพเจ้าขออนุญาตและกราบขอความกรุณา..ท่านเลขาอาชีว     19 กย 2553 ...ว่าผอ.วอศ.ลำปางท่านใหม่ที่จะมาแทนผอ.ปฎิเวธ พึ่งอุบล..ข้าพเจ้า  ขอเป็นผอ.ปฎิเวธ  พึ่งอุบล ท่านเดิม..ค่ะ..เพราะท่าน ม่ได้  จบบัญชี..กราบขอบพระคุณ  ค่ะ

    ***************************

     

    1.จัดตั้งสถาบัน/รวมกลุ่ม ฯ ? ควรจัดตั้ง  คณะบริหารธุรกิจ ออกต่างหาก ไม่ควรอยู่สถาบันเดียวกันกับ (คณะคหกรรม +ศิลป  )  ให้ไป อยู่สถาบัน อื่นหรือ เปลี่ยนสารพัดช่าง เป็น วิทยาลัยพาณิชยการสารสนเทศ      ก็ไพเราะดี

     

    เหตุผล   ตั้งแต่เริ่มก่อตั้งคณะบริหารธุรกิจ ขึ้นในวิทยาลัยอาชีวศึกษา เพื่อเพิ่มปริมาณผู้เรียน..ทำให้เกิดการแย่งชิงทรัพยากร มาตรฐานการปกครอง เกณฑ์มาตรฐาน บ่งชี้  ความน่าจะเป็น การวัดคุณค่า..ค่าของคนอยู่ที่ผล ของงาน  เปลี่ยนไป...แสดงให้เห็น  ความด้อยคุณภาพ การบริหารจัดการของ สอศ.อย่างสิ้นเชิง..โดยเฉพาะ..วอศ.ลำปาง

     

     

    ..

     

     

     

     

     

     

    ฝนตก-ไม่ทั่วฟ้า* พ่อครูชินวรณ์***ลำเอียง*******

    ครูจางสอศ.อาชีวศึกษา ทั่วประเทศ***ขอท่านช่วย**เหลียวหลัง แลหน้าด้วย  ค่ะ***หนู อยากเป็นพนักงานรัฐ***เช่นเดียวกัน***ตำแหน่งน้อย  ก็ขอท่านโปรดพิจารณา**ด้วย บางคนสอนอาชีวศึกษา พร้อมๆ ข้าราชการบรรจุ**ปัจจุบัน ข้าราชการที่มาบรรจุพร้อมๆกับครูจ้างสอนคนนั้นมานั่งเก้าอี้ผอ.แล้ว*****ครูจ้าง 30 ปี ก็เหมือนเดิม*****เศร้า  ควรนำเกณฑ์มาตรฐาน พรบ.2542 เรื่อง***ศักดิ์ศรีความเป็นคน   มาเป็นตัวกำหนด การปฎิรูป การศึกษา   ทุกๆ รอบ  ..ดีไหม.ท่าน

     

     

    ศึกษาธิการ - นายชินวรณ์ บุณยเกียรติ รัฐมนตรีว่าการกระทรวงศึกษาธิการ เปิดเผยมติ ครม.เมื่อวันที่ ๓๑ สิงหาคม ๒๕๕๓ ในส่วนที่เกี่ยวข้องกับกระทรวงศึกษาธิการ ๓ เรื่อง คือ ๑) อนุมัติปรับสถานภาพครู ศรช.เป็นพนักงานราชการ ๒) อนุมัติกฎ ก.ค.ศ.ว่าด้วยหลักเกณฑ์การจัดประเภทตำแหน่งและระดับตำแหน่งฯ ของบุคลากรทางการศึกษาอื่น ๓) เห็นชอบร่าง พ.ร.บ.สถาบันเทคโนโลยีเพื่อการศึกษา

    มติ ครม. ๓๑ สิงหาคม ๒๕๕๓

    - อนุมัติปรับสถานภาพครู ศรช. เป็นพนักงานราชการ ,๖๗๒ คน

    รมว.ศธ.เปิดเผยว่าคณะรัฐมนตรี (ครม.) ได้อนุมัติการปรับสถานภาพครูศูนย์การเรียนชุมชน (ครู ศรช.) เป็นพนักงานราชการ จำนวน ๘,๖๗๒ คน ตามที่กระทรวงศึกษาธิการเสนอ ทั้งนี้ให้กำหนดระยะเวลาในสัญญาจ้างเป็นเวลา ๒ ปี ตั้งแต่วันที่ ๑ ตุลาคม ๒๕๕๓ – ๓๐ กันยายน ๒๕๕๕ เพื่อให้สอดคล้องกับระยะเวลา ตามกรอบอัตรากำลังพนักงานราชการของส่วนราชการ ปีงบประมาณ พ.ศ.๒๕๕๒–๒๕๕๕ ที่คณะกรรมการบริหารพนักงานราชการได้ให้ความเห็นชอบไว้แล้ว

    ในส่วนของงบประมาณค่าใช้จ่ายสำหรับการปรับสถานภาพครูดังกล่าวข้างต้น ให้ ศธ.ใช้จ่ายจากงบประมาณรายจ่ายประจำปีงบประมาณ พ.ศ.๒๕๕๓ ด้านบุคลากร เท่าที่ได้รับการจัดสรรไว้แล้ว ส่วนงบประมาณที่ต้องใช้เพิ่มขึ้น ให้ ศธ.พิจารณาใช้จ่ายจากงบประมาณรายการอื่นที่ได้รับจัดสรรไว้แล้วตามความเหมาะสม โดยให้ขอตกลงในรายละเอียดกับสำนักงบประมาณต่อไป

    - อนุมัติกฎ ก.ค.ศ.ว่าด้วยหลักเกณฑ์การจัดประเภทตำแหน่งและระดับตำแหน่งของข้าราชการครูและบุคลากรทางการศึกษา ตำแหน่งบุคลากรทางการศึกษาอื่น

    ครม.อนุมัติหลักการร่างกฎ ก.ค.ศ.ว่าด้วยหลักเกณฑ์การจัดประเภทตำแหน่งและระดับตำแหน่งของข้าราชการครูและบุคลากรทางการศึกษา ตำแหน่งบุคลากรทางการศึกษาอื่นตามมาตรา ๓๘ ค. (๒) พ.ศ. .... และร่างกฎ ก.ค.ศ.ที่เกี่ยวข้องรวม ๓ ฉบับ ตามที่ ศธ.เสนอ โดยมีสาระสำคัญดังนี้

    ร่างกฎ ก.ค.ศ. ว่าด้วยหลักเกณฑ์การจัดประเภทตำแหน่งและระดับตำแหน่งของข้าราชการครูและบุคลากรทางการศึกษา ตำแหน่งบุคลากรทางการศึกษาอื่นตามมาตรา ๓๘ ค. (๒) พ.ศ. .... ได้กำหนดให้ตำแหน่งข้าราชการครูและบุคลากรทางการศึกษา ตำแหน่งบุคลากรทางการศึกษาอื่นฯ มี ๒ ประเภท โดยกำหนดนิยามของตำแหน่งประเภทวิชาการและกำหนดระดับตำแหน่งประเภทวิชาการ มีการกำหนดนิยามของตำแหน่งประเภททั่วไป และกำหนดระดับตำแหน่งประเภททั่วไป นอกจากนี้ได้กำหนดให้ ก.ค.ศ.มีอำนาจกำหนดตำแหน่งอื่นนอกจากที่กำหนดไว้แล้วในกฎ ก.ค.ศ.นี้ ตลอดจนกำหนดให้การวางแนวทางการดำเนินการเกี่ยวกับการปฏิบัติงานให้เป็นไปตามหลักเกณฑ์และเงื่อนไขที่ ก.ค.ศ. กำหนด

    ร่างกฎ ก.ค.ศ. ว่าด้วยการให้ข้าราชการครูและบุคลากรทางการศึกษา ตำแหน่งบุคลากรทางการศึกษาอื่นตามมาตรา ๓๘ ค. (๒) ได้รับเงินเดือน พ.ศ. .... ได้กำหนดให้ข้าราชการครูและบุคลากรทางการศึกษา ตำแหน่งบุคลากรทางการศึกษาอื่นฯ รับเงินเดือนในขั้นต่ำขั้นสูงของระดับเงินเดือนตามบัญชีเงินเดือนขั้นต่ำขั้นสูงของข้าราชการพลเรือนสามัญ ท้ายพระราชบัญญัติระเบียบข้าราชการพลเรือน พ.ศ.๒๕๕๑ และกำหนดข้อยกเว้น รวมทั้งกำหนดระดับเงินเดือนของผู้ดำรงตำแหน่งประเภททั่วไประดับอาวุโส ตำแหน่งประเภทวิชาการระดับปฏิบัติการและระดับตำแหน่งประเภทสายงานและระดับอื่นที่ ก.ค.ศ. กำหนด นอกจากนี้ยังได้กำหนดให้ผู้ได้รับแต่งตั้งให้ดำรงตำแหน่งตามมาตรา ๕๗, ๕๘, ๕๙, ๖๑ หรือ ๖๓ แห่งพระราชบัญญัติระเบียบข้าราชการครูและบุคลากรทางการศึกษา พ.ศ. ๒๕๔๗ และที่แก้ไขเพิ่มเติม (ฉบับที่ ๒) พ.ศ.๒๕๕๑ ให้ได้รับเงินเดือนในอัตราที่ ก.ค.ศ.กำหนด ส่วนผู้ที่มีลักษณะหน้าที่เช่นเดียวกับข้าราชการพลเรือนสามัญ หากระดับตำแหน่งและการให้ได้รับเงินเดือนของข้าราชการพลเรือนสามัญเปลี่ยนแปลงไปก็ให้ได้รับเงินเดือนเช่นเดียวกับข้าราชการพลเรือนสามัญ


    ร่างกฎ ก.ค.ศ. ว่าด้วยการให้ข้าราชการครูและบุคลากรทางการศึกษา ตำแหน่งบุคลากรทางการศึกษาอื่นตามมาตรา ๓๘ ค. (๒) ได้รับเงินประจำตำแหน่ง พ.ศ. .... ได้กำหนดหลักเกณฑ์และเงื่อนไขการได้รับเงินประจำตำแหน่งของข้าราชการครูและบุคลากรทางการศึกษา ตำแหน่งบุคลากรทางการศึกษาอื่นฯ รวมทั้งกำหนดอัตราเงินประจำตำแหน่งในตำแหน่งประเภทวิชาการด้วย


    - เห็นชอบร่าง พ.ร.บ.สถาบันเทคโนโลยีเพื่อการศึกษา พ.ศ. ....

    ครม.เห็นชอบร่างพระราชบัญญัติสถาบันเทคโนโลยีเพื่อการศึกษา พ.ศ. .... ตามที่ ศธ.เสนอ โดยสาระสำคัญมีดังนี้

    -
    กำหนดให้จัดตั้งสถาบันเทคโนโลยีเพื่อการศึกษาเป็นหน่วยงานกลาง ตามมาตรา ๖๙ แห่งพระราชบัญญัติการศึกษาแห่งชาติ พ.ศ.๒๕๔๒ โดยมีวัตถุประสงค์ตามที่กำหนด และให้สถาบันมีฐานะเป็นหน่วยงานของรัฐที่เป็นนิติบุคคล และไม่เป็นส่วนราชการตามกฎหมายว่าด้วยระเบียบบริหารราชการแผ่นดิน หรือรัฐวิสาหกิจตามกฎหมายว่าด้วยวิธีการงบประมาณและกฎหมายอื่น และให้สถาบันมีอำนาจกระทำกิจการภายในขอบแห่งวัตถุประสงค์
    -กำหนดให้ทุนและทรัพย์สินของสถาบัน ประกอบด้วยเงินหรือทรัพย์สินที่ได้รับโอนมาตามมาตรา ๔๒ เงินที่รัฐบาลจ่ายให้เป็นทุนประเดิม และเงินอุดหนุนที่รัฐบาลจัดสรรให้เป็นรายปี เป็นต้น และให้รายได้ของสถาบันไม่เป็นรายได้นำต้องนำส่งคลังเป็นรายได้แผ่นดิน
    -กำหนดให้มีคณะกรรมการสถาบันเทคโนโลยีเพื่อการศึกษา ประกอบด้วยประธานกรรมการซึ่ง ครม.แต่งตั้งจากผู้มีคุณสมบัติตามที่กำหนด กรรมการโดยตำแหน่งจำนวน ๖ คน กรรมการผู้ทรงคุณวุฒิจำนวน ๘ คน โดยมีผู้อำนวยการสถาบันฯ เป็นกรรมการและเลขานุการ กำหนดคุณสมบัติ วาระการดำรงตำแหน่ง และการพ้นจากตำแหน่งของประธานกรรมการและกรรมการผู้ทรงคุณวุฒิ และอำนาจหน้าที่ของคณะกรรมการ
    -กำหนดให้มีผู้อำนวยการสถาบันฯ ซึ่งคณะกรรมการแต่งตั้งจากบุคคลซึ่งมีคุณสมบัติและไม่มีลักษณะต้องห้ามตามที่กำหนด กำหนดวาระการดำรงตำแหน่ง การพ้นจากตำแหน่ง และอำนาจหน้าที่ของผู้อำนวยการสถาบันฯ
    -กำหนดให้จัดตั้งกองทุนพัฒนาเทคโนโลยีเพื่อการศึกษา โดยมีวัตถุประสงค์ตามที่กำหนด และให้กองทุนประกอบด้วยเงินที่รัฐบาลจ่ายให้เป็นทุนประเดิมเงินอุดหนุนที่รัฐบาลจัดสรรให้เป็นรายปี เงินที่ได้รับจัดสรรตามกฎหมายว่าด้วยองค์กรจัดสรรคลื่นความถี่และกำกับการประกอบกิจการวิทยุกระจายเสียง วิทยุโทรทัศน์และกิจการโทรคมนาคม และเงินค่าสัมปทานและผลกำไรที่ได้จากการดำเนินการด้านสื่อสารมวลชน เทคโนโลยีสารสนเทศและโทรคมนาคมตามที่ได้รับจัดสรรตามกฎหมาย ระเบียบ หรือมติคณะรัฐมนตรี เป็นต้น โดยให้เงินและทรัพย์สินของกองทุนไม่ต้องนำส่งคลังเป็นรายได้แผ่นดิน
    -กำหนดให้การจัดสรรเพื่อการผลิต การวิจัยและการพัฒนาเทคโนโลยีเพื่อการศึกษาของกองทุน เป็นไปตามหลักเกณฑ์และวิธีการที่กำหนดในกฎกระทรวงที่ออกตามมาตรา ๖๘ แห่งพระราชบัญญัติการศึกษาแห่งชาติฯ
    -กำหนดให้มีคณะกรรมการกองทุน ประกอบด้วยปลัดกระทรวงศึกษาธิการเป็นประธาน ผู้แทนส่วนราชการเป็นกรรมการ และกำหนดอำนาจหน้าที่ของคณะกรรมการฯ
    -กำหนดบทเฉพาะกาลเกี่ยวกับการโอนบรรดากิจการ ทรัพย์สิน สิทธิ หนี้ และงบประมาณ ของสำนักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษา และของสำนักงานปลัดกระทรวงศึกษาธิการ วาระเริ่มแรกของคณะกรรมการฯ ผู้อำนวยการสถาบันฯ และการโอนข้าราชการและลูกจ้างไปเป็นพนักงานหรือลูกจ้างของสถาบันฯ

    บัลลังก์ โรหิตเสถียร

    นงศิลินี โมสิกะ
    สรุป/รายงาน

    :namespace prefix = v />xml:namespace prefix = v />xml:namespace prefix = v />xml:namespace prefix = v />

     

     

     


     

    ยกร่างเกณฑ์รับนักเรียน ประถม - มัธยม

              - สพฐ.เล็งปรับวิธีการเด็ก'ม.3'ขึ้น'ม.4'
              นายชินภัทร ภูมิรัตน เลขาธิการคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน (กพฐ.) เปิดเผยว่า สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน(สพฐ.) กำลังจัดทำหลักเกณฑ์การรับนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 1 มัธยมศึกษาปีที่ 1 และมัธยมศึกษาปีที่ 4 ประจำปีการศึกษา 2554 ซึ่งจะต้องเสนอให้คณะกรรมการ กพฐ.ได้พิจารณาให้ความเห็นชอบ ก่อนจะนำเสนอให้รัฐมนตรีว่าการกระทรวงศึกษาธิการ (ศธ.) ได้อนุมัติลงนามในประกาศ ศธ.ประมาณเดือนพฤศจิกายนนี้ โดยประเด็นหลักที่ยังมีข้อถกเถียงกันอยู่ตั้งแต่ปีการศึกษาที่ผ่านมา คือการรับนักเรียนชั้น ม.4 ที่ปีที่แล้ววางแนวปฏิบัติให้นักเรียนที่จบชั้น ม.3 ขึ้นเรียนต่อชั้น ม.4 โรงเรียนเดิมได้เลย ประเด็นนี้ยังต้องมีการหารืออีกครั้งว่า จะยังใช้นโยบายนี้หรือไม่ เพราะพบว่ามีทั้งข้อดีและข้อเสีย โดยหากรับนักเรียนที่จบชั้น ม.3 ทุกคนเข้าเรียน จะทำให้เด็กส่วนหนึ่งที่มีเกรดเฉลี่ยต่ำไม่กระตือรือร้นขยันเรียนมากขึ้นเพราะถือว่าได้รับการประกันสิทธิขึ้นเรียนต่อชั้นม.4 ทุกคน เป็นการสวนกระแสเรื่องคุณภาพผู้เรียน และยังส่งผลกระทบถึงการส่งเสริมให้เด็กเรียนต่อสายอาชีวศึกษาเพิ่มขึ้นด้วย รวมทั้งอาจไปลิดรอนสิทธิของนักเรียนโรงเรียนอื่นที่จะมาเข้าเรียนด้วย เช่น เด็กจากโรงเรียนขยายโอกาสเป็นต้น โดยเฉพาะโรงเรียนมัธยมศึกษาที่มีชื่อเสียง จะมีเด็กจบจากโรงเรียนอื่นต้องการมาสอบเข้าเรียนชั้น ม.4 ด้วยเช่นกัน ถือเป็นการปิดกั้นสิทธิเด็กคนอื่นๆ ทั้งที่เด็กเหล่านั้นก็มีความรู้ความสามารถกว่า ขณะเดียวกันทางโรงเรียนเองก็ต้องการนักเรียนที่มีศักยภาพเหมาะสมด้วยนอกจากนี้ ตนเห็นว่าการกำหนดนโยบายที่รับประกันให้นักเรียนที่จบชั้น ม.3 ได้เรียนต่อ ม.4 โรงเรียนเดิมทุกคน บางครั้งก็ไม่สอดคล้องกับทรัพยากรต่างๆ ที่มีอยู่ด้วย อย่างไรก็ตามเรื่องนี้ยังไม่มีข้อสรุปที่ชัดเจน อาจต้องนำเข้าที่ประชุมคณะกรรมการ  กพฐ.พิจารณา
              "สพฐ.ไม่ได้คิดจะเปลี่ยนแปลงแนวทางการรับนักเรียนกลับไปกลับมา จนทำให้ผู้ปกครองและเด็กเกิดความสับสน เพียงแต่
    สพฐ.ต้องมีหลักการและจุดยืนที่ชัดเจนว่าการรับนักเรียนในระดับชั้นมัธยมศึกษาตอนปลายคืออะไร และนโยบายส่งเสริมผู้เข้าเรียนสายวิชาชีพหรืออาชีวศึกษาก็เป็นองค์ประกอบหนึ่งที่ สพฐ.จะต้องนำมาประกอบการพิจารณากำหนดแนวทางการรับนักเรียนด้วย" เลขาธิการ กพฐ.กล่าว และว่า สำหรับแนวคิดเรื่องการนำผลคะแนนสอบแบบทดสอบทางการศึกษาแห่งชาติขั้นพื้นฐาน (โอเน็ต) มาเชื่อมโยงกับการคัดเลือกรับนักเรียนนั้น ยังต้องหารือให้มีความชัดเจนมากกว่านี้ แต่อย่างไรก็ตาม การรับนักเรียนที่ผ่านมา สพฐ.ก็ได้เปิดช่องให้โรงเรียนนำผลคะแนนสอบโอเน็ตของเด็กมาใช้ในการคัดเลือกรับนักเรียนได้ด้วย เพียงแต่โรงเรียนส่วนใหญ่ยังไม่ได้นำมาใช้ โดยเฉพาะโรงเรียนดีเด่นดังที่มักจะใช้ข้อสอบของโรงเรียนเองในการสอบคัดเลือกนักเรียน--จบ--

    ที่มา: หนังสือพิมพ์มติชน

    **********************************

    พิจารณ์ พรบ.อาชีว ฯ  เรื่อง  งานการค้า  .....ธุรกิจ บริการ ฯ.......คุณธรรมนำความรู้............ตลอดถึง.

    ..........ร่วมแสดงคิดเห็นเพิ่มเติม..เกณฑ์ประเมินภายนอก(สมศ.ปรเมินสำนักงานคณะ
    กรรมการการอาชีวศึกษา.....สถานศึกษาวิทยาลัยอาชีวศึกษา......) รอบ 3 สมศ.2554-25.....ด้วย
    จากสภาพ.......ปัจจุบัน
    (ประชาพิจารณ์
    ระเบียบสํานักงานคณะกรรมการการอาชีวศึกษา ว่าด้วยการบริหารสถานศึกษา พ.ศ. 2552
    กำหนดการถวายผ้ากฐิน    วิทยาลัยอาชีวศึกษาลำปาง  
    วันอังคารที่  9  พฤศจิกายน  พ.ศ.  2553

    ทอดถวาย  ณ  วัดบ่อแฮ้ว  ตำบลบ่อแฮ้ว  อำเภอเมือง  จังหวัดลำปาง
    สรุปยอด.....ยอดเงินบริจาคในซองกฐิน.......วอศ.ลำปาง.......ถวายวัดเพื่อทอดกฐินตามเจตนารมณ์...ผู้ให้.

    .เท่าไหร่ ..และ..  ติดแอร์....สำหรับ..ฆราวาส..?  เสวย สุข???................เท่า
    ไหร่..................................

    บุญ  ที่ได้ ต่างกันไหม ????       

    จุ๊ จุ๊ จุ๊    สมควร หรือไม่ ...ผู้บริหารวอศ.ลำปาง..   นำเงินจากซองกฐิน..( ทำบุญใหญ่)................ซองเดียวกัน....มาทำกิจ อื่นๆ.......

     ท่านคิดอย่างไร ?????????????
    ว่างๆจะมา วิเคราะห์  .....ต่อ...รอผล...เลื่อนขั้น เงินเดือน 1ตค 2553  ออกก่อน..ไม่งั้น เขียนไม่ออก.....
     สรุปยอด..3แสน ถวายพระวัด..เพื่อทำบุญทอดกฐิน 1แสน ที่เหลือ ฆราวาส...................

    ..เนื่องจาก..ณ วันนี้ สอศ.กำลัง..จะสรรหา...ตำแหน่งผู้อำนวยการวิทยาลัยอาชีวศึกษาลำปางท่าน......ใหม่...

    ข้าพเจ้า..ขออนุญาต..รายงาน..จุดแข็ง..จุดอ่อน..วอศ.ลำปางที่ต้อง เร่งพัฒนา..ฟื้นฟู ด่วน  ก่อนการ

    ประเมินภายนอกรอบที่3....จาก สมศ  คือ


    1.  ฟื้นฟูจิตสำนึก...ที่ถูกต้อง  เกี่ยวกับการ ทะนุ บำรุงด้านศาสนา........(ตย.  ทอดกฐิน 2553  บน)......

    2..ฟื้นฟูจิตสำนึก...ที่ถูกต้อง  เกี่ยวกับวัฒนธรรม การแต่งกาย..ครูในการอนุรักษ์ศิลป วัฒนธรรม ชุดพื้นเมือง 

    ทุกวันศุกร์...ครูควรเป็นแบบอย่าง การรักษาวัฒนธรรม ไม่ใช่หน้าที่ของ เด็กวัยรุ่น..แต่เป็น
    หน้าที่ของครูที่ไปยืนคุมแถวนร หน้าเสาธงตอนเช้าด้วย  ....
    กิ๊ว ๆๆๆๆๆ น่าละอาย....
    *****ที่น่า..สมเพช..ไปกว่านั้น.......พวกผู้บริหารที่เห็นแก่พวกพ้อง... มาขายผ้าที่ให้นร นศ.สวมใส่

    เป็นชุด พื้นเมือง วันศุกร์ ก็   สะ-เหร่อ......ไม่อยากใช้ คำว่า ว่า สิ้นดี..น่าจะใช้ คำว่า...สิ้นชาติ  น่าจะเหมาะกว่า

    .....เพราะผ้า...คือ..ชีวิต....ผ้า  ..คือ...ชาติ....ผ้า..คือ..วัฒนธรรม...(ดูผ้าที่ผู้บริหาร..ฝ่ายทรัพย ฯ   เลือก สิ 

    ตั้งแต่ 2548-2549-2550-2551-2552-2553-   5-6 ปี   ...)

    3.ฟื้นฟูจิตสำนึก...ที่ถูกต้อง  เกี่ยวกับการประกอบอาชีพ...ที่สาขาวิชาตลาด ..มานั่งขายขนมปัง เป็นลำ เป็นสัน.......(เรื่องนี้  ต้อง โทษนโยบาย  สอศ. ด้าน เน้นนร. มีรายได้ ระหว่างเรียน..ตลาดจึงฉก
    ฉวย.....( ต้อง...เกี่ยวข้อง..และข้าพเจ้าจะขอไปพิจารณ์ พรบ. อาชีว..ต่อไป  )ผบ.ระดับสูง....ด้วยแต่หาก

    มีการบริหารจัดการ ที่ดี..คือ ผ่านสหกรณ์ วิทยาลัย ให้ถูกต้องตาม  กฎ กติกาของชุมชน สังคม 
    ทุกคนในหน่วยงาน ก็ได้ปันผล สิ้นปี......ด้วย... มันอยู่ที่วิธี คิด ของ ผบ.+ครู  ที่จะอาศัยช่องโหว่ เอาเปรียบ

    สังคม  หรือ คืนกำไรให้สังคม ที่ตน....คิดว่าเป็น ความชาญฉลาด ในการบริหาร การตลาด กล
    ยุทธิ์  ที่ ฉกฉวย   น่าเป็นห่วง    ...เพราะ  สังคมใหญ่  บิ๊ก cก็ควบรวม คาฟู.........กม. ต้องเป็นธรรม....

    ในสภาพสถานศึกษา..ก็เฉกเช่นเดียวกัน.....

    4.การเรียนการสอนวิชาโครงการ...ว่างๆจะถ่ายภาพ ระหว่าง แม่ค้า โรงอาหารที่ขาดรายได้  กับนโยบาย

    ขายสินค้าวิชาโครงการ...ของนร นศ.

    ทั้งนี้ และ ทั้งนั้น.......ข้าพเจ้า...ขอ โทษ การบริหารจัดการ และภาวะผู้นำ ที่ ล้มเหลว ของผู้บริหาร

    วิทยาลัยอาชีวศึกษาลำปาง...ที่ไม่สามารถ นำพา องค์กร  ไปสู่    อัตลักษณ์วิทยาลัยอาชีวศึกาลำปางที่ว่า
    คุณธรรม นำหน้า พัฒนาวิชาชีพ.....ล้มเหลว โดยสิ้น เชิง...update 18 พย 2553)


    ****************************
    ข้าพเจ้าขออนุญาต  .....แก้ปัญหา เป็นข้อๆ...ด้วยจิตสำนึก.......คนๆหนึ่ง ???ดังต่อไปนี้
    1.  ฟื้นฟูจิตสำนึก...ที่ถูกต้อง  เกี่ยวกับการ ทะนุ บำรุงด้านศาสนา........(ตย.  ทอดกฐิน 2553  บน)......
    แก้ปัญหา.(เพื่อให้เกิด ..คุณธรรมนำหน้าพัฒนาวิชาชีพ)........จัดคนละงาน...........แยก.......งาน  ต่างวาระ

    / ต่าง เวลา............ชัดเจน

    **********************************
    2..ฟื้นฟูจิตสำนึก...ที่ถูกต้อง  เกี่ยวกับวัฒนธรรม การแต่งกาย..ครูในการอนุรักษ์ศิลป วัฒนธรรม ชุดพื้นเมือง 

     ทุกวันศุกร์...ครูควรเป็นแบบอย่าง การรักษาวัฒนธรรม ไม่ใช่หน้าที่ของ เด็กวัยรุ่น..แต่เป็น
    หน้าที่ของครูที่ไปยืนคุมแถวนร หน้าเสาธงตอนเช้าด้วย  ....
    กิ๊ว ๆๆๆๆๆ น่าละอาย...
    แก้ปัญหา.(เพื่อให้เกิด ..คุณธรรมนำหน้าพัฒนาวิชาชีพ).
    1...ผู้บริหาร.รองผอ(รักษาการ.คนที่1........). ต้องเป็นต้นแบบ  เนื่องจาก  เกิดสภาพสูญญากาศ........เพราะตำแหน่งผอ.วอศ.ลำปาง.....ว่าง
    2...ผ้า ที่นำมาตัดเย็ยชุด พื้นเมือง...ต้องสร้างภาพลักษณ์โดดเด่นชัดเจน...วัฒนธรรมล้านนา........ไม่ใช่เช่นปัจจุบัน..เห็นลายผ้าที่นร นศ.สวมแล้ว...ต้อง เบือนหน้าไปทางอื่น ฯ  และถ้าไปยืนหน้าเสาธง 
    ครูก็ไม่สวมใส่ชุดผ้าซิ่นพื้นเมิอง...โถ โถ ยังอุตส่าห์   ไปยืนคุมแถว แล้ว คอยลงโทษ นร ที่ไม่สวมชุดพื้นเมือง อีก เฮ้อ...........ที่สำคัญครูที่ทำธุรกิจ นำผ้ามาขายให้วิทยาลัยเพื่อให้เป็นชุดนร. ยังไม่สวมใส่  
      แล้ว...........
    *********************************
    3....ฟื้นฟูจิตสำนึก...ที่ถูกต้อง  เกี่ยวกับการประกอบอาชีพ...ที่สาขาวิชาตลาด ..มานั่งขายขนมปัง เป็นล่ำ

    เป็นสัน.......(เรื่องนี้  ต้อง โทษนโยบาย  สอศ. ด้าน เน้นนร. มีรายได้ ระหว่างเรียน..ตลาดจึง
    ฉกฉวย.....( ต้อง...เกี่ยวข้อง..และข้าพเจ้าจะขอไปพิจารณ์ พรบ. อาชีว..ต่อไป  )ผบ.ระดับสูง....ด้วยแต่หาก

    มีการบริหารจัดการ ที่ดี..คือ ผ่านสหกรณ์ วิทยาลัย ให้ถูกต้องตาม  กฎ กติกาของชุมชน 
    สังคม ทุกคนในหน่วยงาน ก็ได้ปันผล สิ้นปี......ด้วย... มันอยู่ที่วิธี คิด ของ ผบ.+ครู  ที่จะอาศัยช่องโหว่

    เอาเปรียบสังคม  หรือ คืนกำไรให้สังคม ที่ตน....คิดว่าเป็น ความชาญฉลาด ในการบริหาร การ
    ตลาด กลยุทธิ์  ที่ ฉกฉวย   น่าเป็นห่วง    ...เพราะ  สังคมใหญ่  บิ๊ก cก็ควบรวม คาฟู.........กม. ต้องเป็นธรรม.

    ...ในสภาพสถานศึกษา..ก็เฉกเช่นเดียวกัน....
    แก้ปัญหา(เพื่อให้เกิด ..คุณธรรมนำหน้าพัฒนาวิชาชีพ)...ด่วน 
    โดยเฉพาะ ปัจจุบัน มีชนกลุ่มน้อย..จากศูนย์สงเคราะห์สตรีภาคเหนือ มาร่วม ปวช. การขาย 1ห้อง และ ปวช.ผ้า 2 ห้อง 
    การปลูกฝังจริยธรรม +กลยุทธิ์  ที่ดีงาม ถูกต้อง  จะได้ไม่เกิดการกระจาย แบบอย่างที่ไม่สร้างชาติ    ไปสู่...

    .สังคมรากหญ้า  ที่ ยั่งยืน เป็นธรรม.โดยอาศัย บทเรียน+แบบอย่างจากระบบการศึกษา ที่ขาดจิต
    สาธารณะ ที่บ่มเพาะ ให้คนในสังคม อยู่ร่วมกัน อย่างมีเกียรติ มีศักดิ์ศรี ...........ต่อ เนื่องไป ข้อ 4...ด้วย

    **********************************
    4.การเรียนการสอนวิชาโครงการ...ว่างๆจะถ่ายภาพ ระหว่าง แม่ค้า โรงอาหารที่ขาดรายได้  กับนโยบาย

    ขายสินค้าวิชาโครงการ...ของนร นศ.

    ทั้งนี้ และ ทั้งนั้น.......ข้าพเจ้า...ขอ โทษ การบริหารจัดการ และภาวะผู้นำ ที่ ล้มเหลว ของผู้บริหาร

    วิทยาลัยอาชีวศึกษาลำปาง...ที่ไม่สามารถ นำพา องค์กร  ไปสู่    อัตลักษณ์วิทยาลัยอาชีวศึกาลำปางที่ว่า
    คุณธรรม นำหน้า พัฒนาวิชาชีพ.....ล้มเหลว โดยสิ้น เชิง...update 18 พย 2553)
    แก้ปัญหา.(เพื่อให้เกิด ..คุณธรรมนำหน้าพัฒนาวิชาชีพ)...ด่วน เพราะปัญหา ตั้งแต่ 2547-48-49-50-51-

    52-53-.................
     รายละเอียด..คือ สอศ.มีนโยบายให้นร (ปวช.3ภาคเรียนที่6สุดท้ายก่อนจบ....ปวส..ภาคเรียนที่4....

    สุดท้ายก่อนจบ....)เรียนวิชาโครงการ...ตามสาขาวิชาชีพ..แล้ววิจัย  เพื่อเป็นตัวชี้วัดถึงคุณภาพการ
    จัดการเรียนการสอนสายอาชีวศึกษา...........ข้าพเจ้าเข้าใจถูก หรือไม่  หากไม่ถูกต้อง..ผู้มีความรู้ ด้านนี้

    กรุณาแจ้ง ติดต่อ เรา ด้านล่าง ด้วยจะเป็นพระคุณยิ่ง

    ปัญหา จึง..เกิดขึ้น...   ทำโครงการ  จำหน่าย  อาหาร....(หาก ตลาด นำเงินข้อ  3.ขายขนทปัง มาร่วม

    สร้างกลยุทธิ์ สนับสนุน โดยไม่ ...นำไปรวมกับสินค้า ที่จำหน่าย เรียกว่า ขายถูก ปชส.  
    ฟรี...ฯ)......ดังต่อไปนี้........
    นศ.ปวช3+ปวส.2  ทุกแผนก ดังนี้
    1.บริหารธุรกิจ
    1.1 สาขาบัญชี ปวช.จำนวน      ห้อง รวม...กลุ่ม   /ปวสจำนวน      ห้อง รวม...กลุ่ม  
    1.2 สาขาการขาย จำนวน      ห้อง รวม...กลุ่ม   /ตลาด  ปวสจำนวน      ห้อง รวม...กลุ่ม  
    1.3 สาขา เลขา จำนวน      ห้อง รวม...กลุ่ม   /ปวสจำนวน      ห้อง รวม...กลุ่ม  
    1.4 สาขา ธุรกิจรับงานการค้า      ปวช.จำนวน      ห้อง รวม...กลุ่ม   /ปวสจำนวน      ห้อง รวม...กลุ่ม 
    1.5 สาขา คอมฯ      ปวช.จำนวน      ห้อง รวม...กลุ่ม   /ปวสจำนวน      ห้อง รวม...กลุ่ม 
    1.6  สาขา คอมธุรกิจ    ปวช.จำนวน      ห้อง รวม...กลุ่ม   /ปวสจำนวน      ห้อง รวม...กลุ่ม 

      2.คหกรรม
    2.1 สาขาผ้า ปวช.จำนวน      ห้อง รวม...กลุ่ม   /ปวสจำนวน      ห้อง รวม...กลุ่ม  
    2.2 สาขาคหกรรมปวช.จำนวน      ห้อง รวม...กลุ่ม   /ปวสจำนวน      ห้อง รวม...กลุ่ม  
    2.3 สาขาอาหารปวช.จำนวน      ห้อง รวม...กลุ่ม   /ปวสจำนวน      ห้อง รวม...กลุ่ม  
     
       3ศิลปกรรม
    3.1สาขา ออกแบบ ปวช.จำนวน      ห้อง รวม...กลุ่ม   /ปวสจำนวน      ห้อง รวม...กลุ่ม  
    3.2สาขา วิจิตรศิลป ปวช.จำนวน      ห้อง รวม...กลุ่ม   /ปวสจำนวน      ห้อง รวม...กลุ่ม  
    3.3สาขาวิชา ศิลป ประยุกต์ปวช.จำนวน      ห้อง รวม...กลุ่ม   /ปวสจำนวน      ห้อง รวม...กลุ่ม  

    R-V starครูพื้นฐาน........โครงการขายอาหารเช้า ตลอด ปี อีก ต่างหาก
    แรงจูงใจที่บังคับให้นร นศ. ทำโครงการ....นโยบาย.สอศ.(ที่.....ขาด..คุณภาพในการคิด วิเคราะห์ บริหาร ........ และติดตาม ที่มีคุณภาพ..หลงระเริง..โครงการบ่มเพาะ ก็น่าสนใจ...เหมือน
    เล่น....ลิเก ..ลิเก..ลิเก ..ไป    ซำ วัน ๆๆๆๆๆๆ)ฮู้........ปัจจุบัน ไม่เห็นมี แล้ว  สูญเปล่าภาษี ราษฎร  งบ

    เท่าไหร่   ...
    http://www.industrialclothingdesin.comสนับสนุนพรรค/ การเมืองใหม่         ..........น่าจะ ..ลองของใหม่ ดุ  /

     เพราะสภาพ ระบบ เอื้อ ต่อความหายนะ ของสังคม และการบ่มเพาะ เยาวชนชาติใน
    ระบบให้ออกไป ทำร้าย ทำลายวังคมที่ยั่งยืน...........คนผลิต/เรียนทักษะวิชาช่าง..จะ ต้อง..อยู่ อย่าง...

    รู้เท่าทัน..และหวาดผวา...............จากคน..ที่เรียกว่าปัญญาชน โจรที่ถูกต้องตามกฎหมาย ที่มี 
    ก.ศธ.รับรอง


    ผลกระทบ/คุณภาพสมรรถนะ ตรงสาขาวิชาชีพ...แต่ละสาขางาน....เพื่อให้นร นศ.......คิดเป็น ทำเป็น แก้ปัญหาเป็น.....มีคุณภาพ .
    1.สาขาอาหาร     ทำอาหาร  ขาย...........เน้นทักษะอาหาร
      สาขาตลาด       ซื้ออาหาร มาขาย.........เน้นกลยุทธิ์......
      สาขาบัญชี        ซื้ออาหาร  มาขาย......เน้น  ??????
      ฯลฯ  อื่นๆ  ไม่แน่ใจ.........
    ถามว่า...                                  
    แก้ปัญหา...(เพื่อให้เกิด ..คุณธรรมนำหน้าพัฒนาวิชาชีพ).......1.1.ไม่ควรจัด.....วิชาการตลาด...วิชาอาหาร   

    จำหน่าย      ในวันเดียวกันและใกล้กัน........เนื่องจาก   ทักษะ....อัตลักษณ์แต่ละ
    สาขาสมรรถนะ เชิงการลงทุน+วิชาเรียนต่างกัน     ควรจัดคนละวัน    เช่น  สาขาวิชาตลาดทุกวันจันทร์ 

    สาขา อาหาร  ทุกวันอังคารเป็นต้น   
                                                                 1.2อนึ่ง..........อย่าลืมว่า  ในโรงอาหาร ยังมีแม่ค้าที่

    ขายอาหารแก่ นร  นศ. ด้วย 
                                       
    แก้ปัญหา...(เพื่อให้เกิด ..คุณธรรมนำหน้าพัฒนาวิชาชีพ)ในข้อ1.1+1.2  ถ้าข้าพเจ้าเป็นผู้บริหาร นะไม่ใช่

    ( bic c  )ข้าพเจ้า.....จะแบ่งนศ.วิชาโครงการ ระดับปวส. เป็น 2  กลุ่มๆที่1
    ให้ คิดเป็น  ขายเป็น แบบเดิม นี้ แหละ                            กลุ่มที่2  ให้ไป..ช่วยสร้างกลยุทธิ์ให้กับแม่ค้า

     ในโรงอาหาร....แล้ว  ดูซิ ..ว่า กลยุทธิ์ การ ตลาด  นำมาช่วยแม่ค้าในโรงอาหาร  กับ กลยุทธิ์+
    นศ  .  กลุ่มไหน จะขายดีกว่ากัน    ซึ่งอาจจะไปตั้งใกล้ๆ กันไปเลย  (1.สิ่งที่จะได้รับ....คือ  โรงเรียน  ใน

    โรงงาน   2.คู่แข่ง.......สูสี....3.สังคมคุณธรรม  นำความรู้ โดยแท้ จริง ??????)

    update  24พย.  2553

    ****แสดงคิดเห็นเพิ่มเติม..เกณฑ์ประเมินภายนอก(สมศ.ประเมินสำนักงานคณะกรรมการการอาชีวศึกษา.....

    สถานศึกษาวิทยาลัยอาชีวศึกษา......) รอบ 3 สมศ.2554-25.....ดังนี้

    ***เอกสารที่สถานศึกษาที่ได้รับการประเมิน  นำมาแสดงต่อคณะกรรมการ(สมศ.หรือกรรมการประเมินภายใน.

    ...ที่เป็นการสรุปข้อมูล    อื่นๆ  ใดๆ)  หากปรากฎ ในภายหลังว่า..เป็นเท็จ (นิยาย    นำเน่า    วิจัย   อื่นๆ....

    ไม่มีอายุความ..) ให้ถือว่าผู้บริหาร+กรรมการที่รวบรวมข้อมูล ครั้งนั้น มีความผิดทางวินัย  ย้อนหลังไม่มีอายุ

    ความ..) ***


     

     

     

     

     

     

    ตารางเรียนสอน .ครูสุรภี   ภาคเรียน ที่1/2553

    จันทร์  ประวัติเครื่องแต่งกาย            สคผ53.1    
    ศิลปการแต่งกาย ชคผ52.1
    อังคาร ศิลป-การออกแบบ ชคผ53.3
    พุธ การออกแบบเสื้อ ชคผ53.3
    พฤหัส การออกแบบเสื้อ ชคผ53.2
    ศิลป-การออกแบบ ชคผ53.1
    ศุกร์ พัฒนางานคุณภาพฯ สคผ52.1
    การออกแบบเสื้อ ชคผ53.1

    WEBBOARD

     

     

     

     

     

     

     

     

     

     


    คลิ๊กนี้มีความหมาย