สถิติวันนี้ 15 คน
 สถิติเมื่อวาน 96 คน
 สถิติเดือนนี้
สถิติปีนี้
สถิติทั้งหมด
130 คน
20402 คน
844503 คน
เริ่มเมื่อ 2012-10-15

สานฝันดีไซน์เนอร์รุ่นใหม่ โครงการ 8.2 การแต่งกายชาติต่างๆ

ภาพวัฒนธรรมการแต่งกายการประจำชาติต่างๆ วิชาประวัติเครื่องแต่งกายออกแบบ-แสดงแบบโดย นักศึกษาชั้น สคผ54.1

แผนกวิชาเทคโนโลยีผ้าและเครื่องแต่งกาย ***วิทยาลัยอาชีวศึกษาลำปางร่วมกับศูนย์สงเคราะห์สตรีภาคเหนือ จ.ลำปางภาคเรียนที่1/2554.......ครูสุรภี

 

ภาพวัฒนธรรมการแต่งกายการประจำชาติต่างๆ วิชาประวัติเครื่องแต่งกายออกแบบ-แสดงแบบโดย นักศึกษาชั้น สคผ53.1

แผนกวิชาเทคโนโลยีผ้าและเครื่องแต่งกาย ***วิทยาลัยอาชีวศึกษาลำปางร่วมกับศูนย์สงเคราะห์สตรีภาคเหนือ จ.ลำปางภาคเรียนที่1/2553.......ครูสุรภี

ผลงานนักเรียนปวช-นักศึกษาปวช./ปวสปีการศึกษา2545-2551-2552

 
 
ผลงานนักเรียนปวช-นักศึกษาปวช./ปวสศูนย์สงเคราะห์สตรี ภาคเหนือ ลำปางปีการศึกษา2553

11  12   13    14  15     16     17     18      19     20

ประเทศเกาหลี /ประเทศอินโดนีเซีย/ประเทศอินเดีย/ประเทศจีน***********ประเทศมาเลเชีย/ประเทศเวียตนาม/ประเทศญี่ปุ่น/ประเทศ......

รายชื่อ..นักศึกษา ระดับชั้นปวส.1 (สคผ.53.1)จำนวน 23 คน

เลขที่1.นางสาวปิยะสุภา ผ่องพันธ์
อ.เมือง         จังหวัด ลำปาง

เลขที่2.นางสาวอรทัย เครือสาร
อ.เมือง         จังหวัด ลำปาง

เลขที่3.นางสาวปิยะธิดา แสนจาง
อ.สูงเม่น         จังหวัดแพร่

เลขที่4.นางสาวพัชรีพร  ย่างพยัคฆ์มงคล
อ.สูงเม่น         จังหวัดแพร่

เลขที่5.นางสาวสาวิตรี  ไชยวัฒนานนท์
อ.สูงเม่น         จังหวัดแพร่

เลขที่6.นางสาวกาญจนา เริงไม( ม้ง  ) ศูนย์สตรีฯ
อ.เมือง         จังหวัด ลำปาง

เลขที่7.นางสาวจินดา พนมไพร  ( ม้ง )ศูนย์สตรีฯ
อ. แม่ริม        จังหวัด เชียงใหม่

เลขที่8.นางสาวชม แซ่ท้าว( ม้ง )ศูนย์สตรีฯ
อ.เมือง         จังหวัด ลำปาง

เลขที่9.นางสาวธนาภรณ์ แซ่โซ้งศูนย์สตรีฯ
อ.สันติสุข         จังหวัดน่าน

เลขที่10.นางสาวบานเย็น  แซ่ว้าง( ม้ง คริสต์ )ศูนย์สตรีฯ
อ.เมือง         จังหวัด ลำปาง

เลขที่11.นางสาวบุญเทียม สิงห์ใจ ( ม้ง )ศูนย์สตรีฯ
อ.เมือง         จังหวัด ลำปาง

เลขที่12.นางสาวประนอม  แซ่เฒ่า( ม้ง )ศูนย์สตรีฯ
อ.เมือง         จังหวัด ลำปาง

เลขที่13.นางสาวผ่องศรี วารีนิยม( ม้ง )ศูนย์สตรีฯ
อ.เมือง         จังหวัด ลำปาง

เลขที่14.นางสาวเพ็ญศิริ  มหันตชัย( ม้ง )ศูนย์สตรีฯ
อ.ท่าวังผา         จังหวัดน่าน

เลขที่15.นางสาวมาลี  ยืนยงคีรีมาส( ม้ง )ศูนย์สตรีฯ
อ.เมือง         จังหวัด ลำปาง

เลขที่16.นางสาวยุพิน  แซ่วะ( ม้ง คริสต์ )ศูนย์สตรีฯ
อ.แม่วาง         จังหวัด เชียงใหม่

เลขที่17.นางสาวรัชนี  แซ่ย่าง ( ม้ง  )ศูนย์สตรีฯ
อ.เมือง         จังหวัด ลำปาง

เลขที่18.นางสาวราตรี แซ่ท้าว( ม้ง )ศูนย์สตรีฯ
อ.เมือง         จังหวัด ลำปาง

เลขที่19..นางสาวรื่นฤดี แซ่เฮ่อ( ม้ง )ศูนย์สตรีฯ
อ.เมือง         จังหวัด ลำปาง

เลขที่20.นางสาวรุ่งทิวา แสนท้าว ( ม้ง )ศูนย์สตรีฯ
อ.เมือง         จังหวัด ลำปาง

เลขที่21.นางสาวแสงดาว  วารีนิยม( ม้ง )ศูนย์สตรีฯ
อ.เมือง         จังหวัด ลำปาง

เลขที่22.นางสาวอนุสรา  ชปนมนต์( ม้ง )ศูนย์สตรีฯ
อ.แม่วาง         จังหวัด เชียงใหม่

เลขที่23.นางสาวอรุณทิพย์ คีรีโชติกุล ( ม้ง )ศูนย์สตรีฯ
อ.ปัว         จังหวัด น่าน

                                                                               

 

 

 วิชาการ ออกแบบชุดประจำชาติ เอเชีย(ประเทศพม่า/ลาว/กัมพูชา/เวียตนาม/มาเลเซีย/อินโดนีเซียเกาหลี/จีน/ญี่ปุ่น/ฟิลิปปินส์/อินเดีย)ประยุกต์ 1คอเร็คชั่นพร้อมแนวคิดและจินตนาการ[ชายและหญิงอย่างน้อย5ชุด]คลิ๊กที่นี่

 วิชาการ ออกแบบประยุกต์จากการแต่งกายประเทศต่างๆ(กรีก อียิปต์ โรมัน แอสซีเรีย อาณาจักร์ไปเซนไทน์)ประยุกต์1คอเร็คชั่นพร้อมแนวคิดและจินตนาการ[ชายและหญิงอย่างน้อย5ชุด] คลิ๊กที่นี่

วิชาการ ออกแบบชุดการแต่งกายสมัยสงครามโลกครั้งที่ ๑ - ๒ประยุกต์ 1คอเร็คชั่นพร้อมแนวคิดและจินตนาการ[ชายและหญิงอย่างน้อย5ชุด]คลิ๊กที่นี่

          วิชาการ ออกแบบชุดประจำชาติ เอเชีย(ประเทศพม่า/ลาว/กัมพูชา/เวียตนาม/มาเลเซีย/อินโดนีเซียเกาหลี/จีน/ญี่ปุ่น/ 

        ฟิลิปปินส์/อินเดีย)ประยุกต์ 1คอเร็คชั่นพร้อมแนวคิดและจินตนาการ[ชายและหญิงอย่างน้อย5ชุด]คลิ๊กที่นี่

  •  ชุดที่ ๑   การแต่งกายชาวเอเชีย

  • ชุดที่ ๒  การแต่งกายชาวเอเชีย ( ต่อ )

  •   

     วิชาการ ออกแบบประยุกต์จากการแต่งกายประเทศต่างๆ(กรีก อียิปต์ โรมัน แอสซีเรีย อาณาจักร์ไปเซนไทน์)ประยุกต์1คอเร็คชั่นพร้อมแนวคิดและจินตนาการ[ชายและหญิงอย่างน้อย5ชุด] คลิ๊กที่นี่

                            

  • ชุดที่ ๓  การแต่งกายชาวตะวันออกกลาง
  • ชุดที่ ๔  การแต่งกายชาวตะวันออกกลาง ( ต่อ )                                                                 

  •      

    วิชาการ ออกแบบชุดการแต่งกายสมัยสงครามโลกครั้งที่ ๑ - ๒ประยุกต์ 1คอเร็คชั่นพร้อมแนวคิดและจินตนาการ[ชายและหญิงอย่างน้อย5ชุด]คลิ๊กที่นี่

  • ชุดที่ ๕  การแต่งกายสมัยสงครามโลกครั้งที่ ๑ - ๒

  • ชุดที่ ๖  การแต่งกายสมัยสงครามโลกครั้งที่ ๑ - ๒ ( ต่อ )                                   

  •    

  • ตารางเรียนสอน .ครูสุรภี   ภาคเรียน ที่1/2553

    จันทร์  ประวัติเครื่องแต่งกาย            สคผ53.1    
    ศิลปการแต่งกาย ชคผ52.1
    อังคาร ศิลป-การออกแบบ ชคผ53.3
    พุธ การออกแบบเสื้อ ชคผ53.3
    พฤหัส การออกแบบเสื้อ ชคผ53.2
    ศิลป-การออกแบบ ชคผ53.1
    ศุกร์ พัฒนางานคุณภาพฯ สคผ52.1
    การออกแบบเสื้อ ชคผ53.1

    ผลงานด้านล่าง อัศวิน  ดีไซน์เนอร์( พุทธสานส์)

    รับจ้างออกแบบ..........ติดต่อโดยตรง ...อัศวิน พุทธสานส์

    ต้องการเรียนตัวต่อตัว ติดต่อ

    ผลงานการออกแบบเสื้อประยุกต์การแต่งกายประจำชาติ(เอเชีย)

             

    ผลงานการออกแบบเสื้อประยุกต์การแต่งกายประจำชาติ(ตะวันออกกลาง)

     

     


    • การแต่งกายชาวเอเซีย

    สหภาพพม่า

    พม่า เป็นชาติที่ไทยเรารู้จักกันมานาน ปัจจุบันพม่ามีการปกครองแบบสาธารณรัฐ

    ประชาธิปไตยจึงเรียกว่า “สหภาพพม่า” พม่ามีอาณาเขตใกล้เคียงกับไทย และสามารถ

    ติดต่อกันได้ทัง้ ทางบก นำ้ และอากาศ สหภาพพม่ามีประชากรเป็นชนเชือ้ ชาติต่าง ๆ หลายเผ่า

    และเคยตกเป็นเมืองขึน้ ของอังกฤษ แต่วัฒนธรรมทางด้านศิลปะ ศาสนา และเครื่องแต่งกายก็ยัง

    มิได้เปลี่ยนแปลงไป

    การแต่งกาย

    เครื่องแต่งกาย ชาวพม่าทัง้ หญิงและชายนิยมนุ่งโสร่ง ที่เรียกว่า “ลองยี” (Longeje)

    ซึ่งมีทัง้ ผ้าฝ้ ายและไหมที่มีสีสด ของผู้หญิงจะมีลายเชิงด้านล่างและมีลวดลายเล็ก ๆ กระจายทั่ว

    ผืนผ้า ลวดลายของแต่ละท้องถิ่นจะต่างกัน ผ้าที่ทอมาจากเมืองอมรปุระเป็นลวดลายดอกไม้

    เครือไม้ หรือเป็นดอกเป็นลายตามขวาง ไม่นิยมใช้เข็มขัด สวมเสือ้ ตัวสัน้ คอกลม ผ่าอกติดกระดุม

    5 เม็ด แขนกระบอกยาวจรดข้อมือ บางครัง้ เป็นแขนสัน้ เลยไหล่ลงมาเล็กน้อย ผ้าตัดเสือ้ นิยมใช้

    ผ้าเนือ้ บาง สีสด เช่น ผ้ามัสลิน ผ้าป่ าน หรือผ้าไนลอน สวมรองเท้าคีบรองเท้าแตะ ทัง้ หญิง

    ชาย แต่ของหญิงจะเป็นสี มีลวดลายเป็นดอกดวง ปักด้วยลูกปัด หรือดิน้ เงินดิน้ ทอง สะพายย่าม

    ซึ่งเป็นผ้าไหมสีสวยสดทอมาจากรัฐฉาน

    ผม โดยทั่วไปไว้ผมยาวเกล้าสูง บางทีก็ปล่อยชายห้อยลงมาไว้ทางซ้ายบ้างขวางบ้าง

    มีดอกไม้แซมผม

    เครื่องประดับ นิยมหิน และพลอยที่มีค่าเช่น ทับทิม นิล และหยก

    ชาย

    เครื่องแต่งกาย นุ่งโสร่งเช่นเดียวกับหญิงแต่สีไม่ฉูดฉาด เป็นลายตาราง โตบ้าง เล็กบ้าง

    หรือเป็นลายทางยาวบ้าง โดยทั่วไปใส่เสือ้ ขาว เมื่อมีพิธีจะสวมเสือ้ คล้ายเสือ้ จีนแขนยาว ถึงข้อมือ

    แบบหนึ่ง เรียกว่า “กุยตั๋ง” เป็นเสือ้ ชายสัน้ ๆ ติดดุมถักแบบจีนป้ ายมาข้าง ๆ อีกแบบเรียกว่า

    “กุยเฮง” ตัวยาวถึงสะโพก และติดกระดุมตัง้ แต่คอตรงมาจดชายเสือ้ ใช้สีสุภาพ เช่น ขาวดำ หรือ

    นวล ถ้าอากาศหนาวจะสวมเสือ้ กัก􀃋 ทอสักหลาดทับอีกชัน้ หนึ่ง จะสวมรองเท้าหุ้มส้นเมื่อมีพิธี

    ผม ตัดผมสัน้ ไม่นิยมสวมหมวก หรือโพกศีรษะตามประเพณีเดิม เมื่อมีพิธีจะมีผ้าหรือ

    แพรโพกศีรษะทำเป็นกระจุกปล่อยชายทิง้ ไว้ทางด้านขวา นิยมใช้สีชมพู

    79

    ชาวพม่านิยมผลิตผ้าทอมือ แต่จะมีชาวเผ่าหนึ่งคือ พวก Yabeins แปลว่า ผู้ปลูกไหม ได้

    ทอผ้าไหมที่มีลวดลายวิจิตรบรรจง เรียกว่า ผ้าตราหมากรุก (Check) นิยมทำกระโปรงแต่งงาน

    และเครื่องแต่งกายในพิธี ผ้าชนิดนีจ้ ะมีเนือ้ แน่น แข็งมาก ก่อนใช้ต้องนำไปแช่นำ้ และทุบเสียก่อน

    เพื่อให้ผ้าเนือ้ นิ่ม สีจะสวย ทนทาน นิยมใช้เป็นลองยีของสตรี

    ชาวพม่าได้เลียนแบบผ้าซิ่นผ้าไหมจากบางกอก เรียกว่า Bangkok lungis จะทอด้วยเส้น

    ไหมควบ นิยมทำสีอมเทา สีเหลืองอำพัน และสีเขียวทึม ๆ เป็นที่นิยมของสตรีพม่ามาก

    การแต่งกายของชาวพม่า

    ราชอาณาจักรลาว

    เป็นประเทศที่อยู่ชิดชายแดนไทยทางด้านตะวันออกเฉียงเหนือทางจังหวัดหนองคาย

    ข้ามแม่นำ้ โขงไปอีกฟากหนึ่งก็จะถึงเมืองเวียงจันทร์ นอกจากชนชาติลาวซึ่งบางครัง้ เรียกว่าลัวะ

    หรือละว้า ยังมีชนเผ่าต่าง ๆ อีก ได้แก่

    1. กลุ่มชนเผ่าไท-ลาว คือพวกไทแดง ไทขาว ไทดำ ย้อ ลือ้

    2. กลุ่มม้ง-เย้า

    3. กลุ่มพม่า-ธิเบต รวมถึงมูเซอ ล่าฮู

    4. กลุ่มมอญ-เขมร รวมถึงขมุ

    80

    การทอผ้าของกลุ่มชาวไท-ลาว ใช้เทคนิคการทอ 6 วิธี ได้แก่

    - มัดหมี่ หรือ IKAI (อีขัด)

    - จก หรือ เทคนิค การเพิ่มด้ายเส้นพุ่งพิเศษเป็นช่วง ๆ ไม่ติดต่อกันตลอดหน้าผ้า

    - ชิด หรือเทคนิคการเพิ่มด้วยเส้นพุ่งพิเศษติดต่อกันตลอดหน้าผ้า

    - เหยียบเกาะ หรือเทคนิคการทอแบบใช้เส้นด้ายหลายสีเกี่ยวหรือผูกเป็นห่วง (เป็นเทคนิค

    การทอของชาวไทลือ้ )

    - ตามุก หรือเทคนิคการเพิ่มด้ายเส้นยืนพิเศษ

    - หมากไม หรือเทคนิคการปั่นด้ายเส้นพุ่ง 2 สีเข้าด้วยกัน

    ผ้าทอมีบทบาทสำคัญในชีวิตครอบครัวของชาวไท-ลาว ทุกวันนีพ้ ิธีแต่งงานแบบดัง้ เดิมของ

    คนไท-ลาวยังคงใช้เครื่องแต่งกายที่งดงาม ประณีต ชุดเจ้าสาวทอด้วยไหมเส้นละเอียด สอดแทรก

    ด้วยเส้นเงินเส้นทอง ผ้าเบี่ยง ซิ่นและตีนซิ่น จะมีสีและลวดลายรับกัน เจ้าบ่าวนุ่งผ้านุ่งหรือผ้า

    เตี่ยวทอด้วยไหมละเอียดสีพืน้ อาจะใช้เทคนิคการทอแบบ “หมากไม” คือการปั่นเส้นใย สวมเสือ้

    แบบฝรั่ง มีผ้าพาดบ่าเพื่อเข้าพิธีสู่ขวัญ

    การแต่งกาย

    ผู้หญิง นุ่ง Patoi (มีลักษณะคล้ายผ้านุ่งของไทย) นิยมทำเป็นลายทาง ๆ เชิงผ้าเป็น

    สีแดงแก่ หรือนำ้ ตาลเข้ม ถ้าผ้านุ่งเป็นไหม เชิงก็จะเป็นไหมด้วย มักจะทอทองและเงินแทรกเข้าไป

    ไว้ผมเกล้ามวยประดับดอกไม้

    ผู้ชาย นุ่ง Patoi เป็นการนุ่งโจงกระเบน สวมเสือ้ ชัน้ นอก กระดุมเจ็ดเม็ด

    การแต่งกายของชาวลาว

    81

    ราชอาณาจักรกัมพูชา

    เนื่องจากมีความสัมพันธ์กับไทยมาก่อน จึงมีลักษณะศิลปะเหมือนกับไทย เช่น ที่จังหวัด

    สุโขทัยมีศิลปะสมัยขอมอยู่มาก เช่น การทำตะกร้าหวาย เครื่องจักสาน เครื่องไม้ เครื่องเงิน

    ทองแดง ทอผ้าพืน้ เมือง เรียกผ้าซัมปอต และผ้าปูม คนไทยสมัยนีก้ ็ยังนิยมอยู่

    การแต่งกายของชาวกัมพูชาจะนุ่งผ้าซัมปอต (Sompot) เป็นผ้าทอมือ ถือว่าเป็นการ

    แต่งกายประจำชาติ สำหรับข้าราชการผู้ใหญ่จะนุ่งผ้าโฮลกับเสือ้ มีกระดุมสีทอง ในงานพิธีจะนุ่ง

    ผ้าโจงกระเบน เวลาไปวัดจะนุ่งผ้าม่วง

    ผ้าซัมปอต (Sompot) มีทัง้ ที่เป็นผ้าฝ้ ายและผ้าไหม มีหลายแบบ ถ้าเป็นผ้าที่ใช้ในโอกาส

    พิเศษจะใช้เส้นใยพืน้ เมืองทอ ถ้าใช้ในชีวิตประจำวันจะใช้วัสดุราคาไม่สูง ซึ่งจะส่งมาจากประเทศ

    ญี่ป่ ุน นิยมทำลวดลายตามขวาง ถ้าเป็นชนิดหรูหราจะทอด้ายเงินและด้ายทอง

    ผ้าโฮล (Hol) เป็นผ้าที่สวยงามประณีต และเก่าแก่ที่สุด จะเป็นผ้ามัดหมี่ชนิดหนึ่งเป็น

    แบบที่มัดเส้นพุ่ง ผ้าโฮลที่มีชื่อเสียงด้านคุณภาพและเนือ้ ผ้าจะทอจาก Koh Sautin, Prek Chang

    Kran (กัมปะจาน) และ Teuk Chor ผ้าโฮลจะมีลวดลายสำหรับผู้หญิงและชาย เช่น ลายโกฎจะเป็น

    ลายของผู้ชาย ส่วนลายต้นไม้ ดอกไม้ เป็นของผู้หญิง แต่ในระยะหลังผ้า Hol จะใช้เฉพาะสตรี

    เท่านัน้

    การแต่งกาย

    หญิง นิยมนุ่งผ้าถุงสีดำ เนือ้ มัน คาดเข็มขัด ใส่เสือ้ สี งานพิธีนุ่งผ้ายก พวกในวังมักนุ่งผ้า

    โจงกระเบน ไว้ผมตัด ทานหมากจนฟันดำ

    ผู้ชาย นุ่งผ้าโจงกระเบน ใส่เสือ้ คอปิด ขัดกระดุมห้าเม็ด

    การแต่งกายของชาวไท - เขมร

    82

    เวียดนาม

    ตามข้อตกลงของการประชุมการสงบศึกษาในอินโดจีนที่กรุงเจนิวา เมื่อ พ.ศ. 2499 ได้

    แบ่งเวียดนามออกเป็น 2 ส่วน คือ

    1. เวียดนามเหนือ อยู่ที่เมืองเว้ ปกครองระบบคอมมูนิสต์

    2. เวียดนามใต้ มีเมืองไซ่ง่อนเป็นเมืองหลวง ปกครองระบบประชาธิปไตยมีประธานาธิบดี

    เป็นประมุข

    ชาวเมืองไซ่ง่อนได้รับประเพณีต่าง ๆ มาจากแต่ครัง้ ฝรั่งเศสปกครอง เช่น การหยุดพักนอน

    กลางวันในวันทำงาน การก้มศีรษะและโค้งตัวเวลาพบปะกันจับมือกัน ที่เหมือนไทยคือ ยังคง

    รับประทานหมากให้ฟันดำ แต่ปัจจุบันเลิกแล้ว

    การแต่งกาย

    ผู้หญิง นุ่งกางเกงแพรยาว สวมเสือ้ แขนยาว คอตัง้ สูง ตัวเสือ้ ยาวลงมาจรดข้อเท้า ผ่า 2 ข้าง

    สูงแค่เอว พวกทำงานหนักจะสวมเสือ้ สัน้ มีกระเป๋ า 2 ใบ แขนจีบยาว บางแห่งทางเหนือสวม

    กระโปรงยาวถึงข้อเท้า

    ผม ยาวเกล้ามวย สวมงอบสานด้วยใบลานทรงรูปฝาชี หรือใช้ผ้าสามเหลี่ยมคลุมศีรษะ

    ดึงชาย 2 ข้างมาผูกใต้คาง ถ้าเป็นทางเหนือแถวฮานอย ใช้ผ้าดำแถบยาวหุ้มผมซึ่งถักเปียไว้ให้มิด

    แล้วโอบพันศีรษะ ปัจจุบันนิยมตัดผมสัน้ และดัดผมมากขึน้ สวมรองเท้าเกี􀃋ยะส้นสูง พ่นสีต่าง ๆ

    รองเท้าสตรีส้นรองด้วยพืน้ ยาง คาดหลังด้วยหนังหรือพลาสติกสีต่าง ๆ

    ชาย แต่งกายคล้ายหญิง บางครัง้ สวมเสือ้ กุยเฮง สวมหมวกสีดำเย็บด้วยผ้า ไม่มีปีก

    ปัจจุบันแต่งสากลกันมากแล้ว

    ในเวียดนามใต้มีชาวเขาเผ่าหนึ่งเรียกว่า พวกม้อย จะนุ่งผ้าสัน้ ๆ ปกปิดร่างกายแต่เฉพาะ

    ท่อนล่างคล้ายนุ่งใบไม้ ปัจจุบันหญิงสวมเสือ้ นิยมเจาะหูสอดไม้ซึ่งเหลาแหลม ๆ สวมกำไลคอ

    จากประวัติความเป็นมาจะเห็นว่าชาวเวียดนามมีการแต่งกายผสมผสานกันมีทัง้ ไทยมุง

    หรือ อ้ายลาวระยะแรก ปนของจีนบ้าง เช่น ลักษณะของเสือ้ ที่ป้ ายซ้อนกันบริเวณอก คอปิด แขน

    ยาว แต่แตกต่างจากไทยและจีนตรงที่การใช้ผ้า ถึงแม้ว่าจะใส่กางเกงแล้ว ยังนิยมสวมเสือ้ ผ้าบาง

    ที่เปิ ดจนถึงเอวทัง้ 2 ข้าง ให้เห็นรูปทรงและสัดส่วนที่งดงาม ชาวเวียดนาม ได้ชื่อว่า เป็นชาติมี

    ผิวพรรณงามที่สุดในโลกอีกด้วย

    ชนเผ่าไทในเวียดนามจะมีการทอผ้าออกมางดงามมาก ซึ่งจะมีลวดลายบนผืนผ้าทอที่

    แตกต่างกันออกไป ซึ่งแต่ละลายนัน้ มีความหมายและมีเทคนิคการทอที่แตกต่างกันอย่าง เช่น ลาย

    ดาวแปดแฉก จะเป็นลายดาวแปดแฉกตรงกลางของผ้า หรือในผ้าเปียว (ผ้าโพกศีรษะ) และยังมี

    83

    ลายเส้นจุด (ลายคลื่น) ลายฟันเลื่อย (ลายหยักหงอนไก่) ลายขอ (ลายกูด) ลายเหรียญ (ลายจำ

    หลอด) ลายรูปหัวใจ (ลายหมากจุ้ม) เป็นต้น ลวดลายต่าง ๆ เหล่านี ้นอกจากจะปรากฏอยู่บนผืน

    ผ้าแล้วยังปรากฏในเครื่องปั้นดินเผา และกลองสำริดด้วย

    การแต่งกายของชาวเวียดนาม

    สหพันธมาเลเซีย

    มาเลเซียเป็นชื่อใหม่ (เมื่อ ค.ศ. 1963) ของประเทศมาลายู เมืองหลวง คือ กัวลาลัมเปอร์

    สหพันธ์มาเลเซียเป็นดินแดนที่มีชนหลายภาษาอาศัยรวมกัน เช่น มลายูแท้ จีน อินเดีย ปากีสถาน

    ยูเรเซียน ลังกา อินโดนีเซีย และชาวเขา

    การทอผ้าในมาเลเซียมีมากแถบกลันตัน และตรังกานู ซึ่งเป็นผ้าที่ทอโดยสอดไหมเงิน

    และทองลงในเนือ้ ไหมตามแบบผ้าทอในอินเดีย พวกช่างทอผ้าในมาเลเซียเป็นพวกที่อพยพมา

    จากเกาะสุมาตรา

    การแต่งกาย แตกต่างกันตามประเพณีนิยมของแต่ละเชือ้ ชาติ

    ผู้หญิง นุ่งโสร่งปาเต๊ะสีสดมีลวดลายดอกดวงงาม สวมเสือ้ คอยูแขนยาวถึงข้อมือ

    ปล่อยชายเสือ้ ไว้นอกโสร่ง บางคนจะมีผ้าบาง ๆ คลุมศีรษะ คลุมไหล่ ชาวมาลายูชอบใช้เสือ้ ผ้า

    สีสดใสมีลวดลาย ใบไม้ดอกไม้โต ๆ สลับสีกัน ชาวจีนแต่งกายแบบจีนเรียกว่า “กี่เพ้า” หรือ

    “ฉ่งชำ” ทำด้วยผ้าเป็นดอกดวง ฉูดฉาด

    84

    ชาย นุ่งโสร่งเป็นตา และสวมเสือ้ แขนยาว บางคนสวมหมวก ใช้ผ้าโพกศีรษะ คนแก่มัก

    มีผ้าห้อยไหล่

    การแต่งกายของชาวมาเลเซีย

    อินโดนีเซีย

    อินโดนีเซียเป็นหมู่เกาะในมหาสมุทรอินเดีย และแปซิฟิค รวมเกาะใหญ่น้อยราว 3,000 เกาะ

    ที่สำคัญคือ สุมาตรา ชวา บาลี ชุลาเวสี (เซลีบิส) กาลมันตัน เวสต์อิเรียน เมืองหลวงคือจาร์กาตา

    อยู่บนเกาะชวา

    การทอผ้าแบบดั้งเดิมของอินโดนีเซีย

    อินโดนีเซียเป็นหมู่เกาะที่อยู่ในเส้นทางการค้าขายติดต่อกับอินเดีย จีน และยุโรป มานาน

    กว่าร้อยปี ซึ่งความสัมพันธ์นีม้ ีอิทธิพลต่อวัฒนธรรม ทักษะพืน้ บ้านและวัตถุดิบในการผลิต ผ้า

    ทอของอินโดนีเซียซึ่งผลิตทัง้ ผ้าฝ้ ายพืน้ ๆ ผ้าฝ้ ายที่วิจิตร ผ้าทอผสมเส้นใยไหม เส้นทองและเส้น

    เงิน มีชุดแต่งกายที่เป็นเอกลักษณ์เฉพาะประจำถิ่น

    ผ้าทอโบราณของอินโดนีเซียมีหลายชนิด ได้แก่ ผ้ายก (Songket) ผ้ามัดหมี่ มัดหมี่เส้นยืน

    มัดหมี่เส้นพุ่ง และมัดหมี่ทัง้ เส้นพุ่งและเส้นยืน

    85

    Songket หมายถึง ยกดิน้ เงินดิน้ ทองซึ่งผลิตในพาเลมบังมินังคาบัว และสมารินดา

    ชาวอินโดนีเซียใช้ผ้าทอกันมากในชีวิตประจำวัน เช่น ผ้าโสร่ง (ผ้านุ่งผู้หญิง) ผ้าคลุมไหล่

    ผ้าสำหรับหุ้มห่อและผูกเด็กเข้ากับตัว ผ้าคลุมผม ผ้ารัดเอว ถุงย่าม

    ผ้าเพเลไพ (Pelepai) หรือผ้าลวดลายเรือจากกลัมปุง ใช้แขวน ประดับ หรือวางตกแต่ง

    ในงานแต่งงาน และพิธีขลิบปลายองคชาติ

    ผ้าบัว (Pua) จากกาลิมันตัน ใช้แทนผนังในกระท่อมไม้ในงานและพิธีกรรม

    ซิโดมัคติ (Sidomukti) เป็นผ้ามัดหมี่ ใช้ในงานพิธีแต่งงานเท่านัน้

    ผ้ากริงซิง (Gringsing) ในบาหลี เป็นผ้ามัดหมี่ทัง้ เส้นด้ายยืนและเส้นพุ่งใช้ในพิธีแสดง

    การย่างเข้าสู่วัยผู้ใหญ่และหนุ่มสาว

    ผ้าเคนทัมพัน (Kain tampan) เป็นผ้าสี่เหลี่ยมจัตุรัส เป็นผ้าที่ใช้แลกเปลี่ยนกันระหว่าง

    ญาติที่เกี่ยวข้องกันเพราะการแต่งงาน

    ชาวอินโดนีเซีย แต่งกายโดยการนุ่งโสร่งปาเต๊ะ มาจากมาเลเซีย มีการทำโสร่งปาเต๊ะ

    หรือบาติก และเครื่องหนังที่ขึน้ ชื่อมาก

    ผู้หญิง สวมเสือ้ แขนยาวพอดี คอแหลม ผ่าหน้าอกเข้ารูปเล็กน้อย ยาวปิดสะโพก เข้ากับ

    โสร่งที่เป็นลวดลาย ใช้สีสันกันเป็นทางบ้างดอกบ้าง ใช้ผ้ายาว ๆ คล้องคอเช่นเดียวกับชาวมาเลเซีย

    ต่างกันที่คอเสือ้ ชาวมาเลเซียจะเป็นคอยู และเสือ้ ยาว

    ผู้ชาย แต่งชุดสากล ผูกไทด์ลายผ้าปาเต๊ะ สวมหมวกคล้ายหมวกหนีบ

    การแต่งกายของชาวเกาะมีลักษณะต่าง ๆ กัน คือ

    การแต่งกายประจำชาติของชาวอินโดนีเซีย จะประกอบด้วย ผ้านุ่งพันรอบกายแน่น เรียกว่า

    กาอิน และเสือ้ ฟิตแขนยาว เรียกว่า กาบายะ วิธีการนุ่งผ้า และสีของเสือ้ จะบอกได้ว่ามาจากส่วนใด

    ของเกาะ ดังนี ้

    1. อัตเจ (สุมาตราเหนือ) เป็นพิธีการ ใช้เสือ้ สีแดง กางเกงยาวสีดำ มีโสร่งนุ่งทับอีกทีหนึ่ง

    รัดเข็มขัด

    2. ตาปานะลี (สุมาตรากลาง) สวมเสือ้ แขนยาว บายุกูรุง

    3. มินังกาโน (สุมาตราตะวันตก) สวมเสือ้ บางยุกูรุง แขนยาว นุ่งโสร่ง มีสไบเฉียง ใช้ผ้า

    โพกศีรษะคล้ายรูปกระบือ

    4. ปาเล็มปัง (สุมาตราใต้) เหมือนบายุกูรุง

    5. ปันยาร์ (กาลิมันตัน) ในพิธีต่าง ๆ ผ้านุ่งสีแดง เสือ้ แดงแขนยาว เสือ้ อยู่ในโสร่ง มี

    เครื่องประดับเพชร นิล จินดา

    86

    6. เมอนาโด (ซูลาเวลีเหนือ) ส่วนมากนับถือคริสต์ ต้องไปโบสถ์เสมอ จึงมักสวมเสือ้ สีขาว

    ปักดอกที่ชายเสือ้

    7. มากาซาร์ (ซูลาเวลีใต้) เรียกชุดว่า “มายุโบโตะ” สาวอินโดนีเซียนิยมกันมาก วัยรุ่น

    นิยมสีชมพู และสีแดง ผู้ใหญ่จะใช้สีเขียวมีแถบทอง

    8. อัมบอน (มาลูกุ) เหมือนชุดสุมาตร แต่สีขาว

    9. ติมอร์ ตามประเพณีต้องสวมโสร่ง ห่มสไบเฉียง มีลายเส้นสีทอง และเงิน

    10. บาหลี สวมโสร่ง มีเครื่องประดับศีรษะเป็นคอกลั่นทม

    11. อีเรียนชยา แต่งกายด้วยสีเหลือง ผ้านุ่งสีเขียว มีขนนกบนศีรษะ

    การแต่งกายของชาวอินโดนีเซีย

    สิงคโปร์

    สิงคโปร์เป็นสาธารณรัฐตัง้ อยู่บนเกาะเล็กปลายแหลมมาลายู มีพืน้ ที่ราว 616 ตาราง

    กิโลเมตร พลเมืองจะมีหลายชนชาติ เช่น จีน มลายู อินเดีย และยุโรป เพราะเป็นเมืองท่าที่สำคัญ

    การแต่งกายจึงแตกต่างกับชนชาติที่ตนเข้าไปอยู่

    การแต่งกายของชาวมลายูในสิงคโปร์ เสือ้ ใช้ลวดลายและดอกคล้ายโสร่งของอินโดนีเซีย

    แบบอาจจะเพีย้ นไปบ้าง ใช้ผ้าพืน้ เข้มทำตัวเสือ้ มีลวดลายตามรอบคอ สาบ และปลายแขน ส่วน

    ชายแต่งชุดสากล สำหรับชาวจีน อินเดีย ยุโรป ก็แต่งตามการแต่งกายของแต่ละชาติ เอกลักษณ์ของ

    ชาวสิงคโปร์ไม่มีศิลปะเป็นของตนเอง แต่สิ่งที่ประทับใจที่สำคัญคือ ความเรียบร้อย มีระเบียบ

    และสะอาดที่สุดในโลกในสายตาของชาวโลก

    87

    การแต่งกายของชาวสิงคโปร์

    (ภาพประกอบการแต่งกายชาวสิงคโปร์ รวบรวมจาก ประวัติเครื่องแต่งกาย)

    ประเทศฟิ ลิปปิ นส์

    ชนเผ่าเดิมของฟิลิปปินส์ คือ นิโกรโตส์ (Negritos) อพยพมาจากตอนกลางของทวีปเอเชีย

    ต่อมาชนเผ่าอินโดนีเซียได้เข้ามาอยู่ในประเทศนี ้ เป็นพวกเชือ้ ชาติมองโมลอยด์ ผสมคอเคเซียน

    ที่มีเหลืออยู่ในฟิลิปปินส์ ได้แก่ พวกอีลองโกทส์ ต่อมาชนเผ่ามาเลย์ (Melags) เข้ามาอาศัยอยู่

    พวกมาเลย์ได้มีการติดต่อทางวัฒนธรรมกับพวกอินเดีย จีน อาหรับมาแล้ว จึงมีการปกครอง

    กฎหมาย ศาสนา วรรณคดี ศิลป วิทยาศาสตร์เป็นของตนเอง พวกมาเลย์อพยพเข้ามาฟิลิปปินส์

    หลายครัง้ ครัง้ ที่ 2 ถือว่าเป็นบรรพบุรุษของพวกตากาล็อค วิสายัน อีโกกาโน ปอมปังโก และพวก

    ฟิลิปปินส์ ที่นับถือศาสนาคริสต์ ส่วนพวกที่เข้ามาครัง้ ที่ 3 จะนับถือศาสนาพระมะหะหมัด เป็น

    บรรพบุรุษของพวกฟิลิปปินโน – มุสลิม อยู่ในเกาะมินดาเนา และซูลู

    ฟิลิปปินส์เป็นศูนย์กลางการค้าแห่งเอเซีย มีประเทศในเอเซียและตะวันออกไกลเข้ามาทำ

    การค้าขายด้วย จนในคริสต์ศตวรรษที่ 15 พวกแขกมะหะหมัดแผ่อิทธิพลเข้ามา การค้าขายกับ

    ประเทศเพื่อนบ้านในเอเซียลดน้อยลง จนกระทั่งชาวสเปนเข้ามา แล้วได้ทราบว่าวัฒนธรรมและ

    ความเป็นอยู่ของชาวฟิลิปปินส์ส่วนใหญ่ได้รับอิทธิพลมาจากอินเดีย จีน และชาวอาหรับ

    88

    การแต่งกาย ของชาวฟิลิปปินส์ในยุคนัน้ นิยมใช้เครื่องประดับกาย ชาวเกาะ วิสายัน

    ชอบสักตามใบหน้า ร่างกาย และแขนขา ชายหญิงสวมเครื่องประดับที่ทำด้วยทองคำและเพชร

    พลอย ชาวพืน้ เมืองนิยมใส่ปลอกแขน กำไล และสร้อยคอ ก่อนสเปนเข้าครอบครอง สังคมแบ่ง

    ออกเป็น 3 ชนชัน้ คือ ขุนนาง เสรีชน และทาส

    ในราวคริสต์ศตวรรษที่ 14 สเปนก็พบฟิลิปปินส์เป็นชาติแรก ต่อมาเกาะทุกเกาะก็ตกอยู่

    ในการปกครองของสเปน และได้รับอารยธรรมต่าง ๆ ตลอดจนประเพณี ศาสนา วัฒนธรรมการ

    แต่งกาย และการดำเนินชีวิต ส่วนการแต่งกายก็ไม่มีการสวมเสือ้ แต่งกายแบบชาวเกาะ นิยม

    ตกแต่งด้วยเครื่องประดับ และสักตามร่างกายดังกล่าวแล้ว

    หลังจากสงครามโลกครัง้ ที่ 2 ฟิลิปปินส์ได้เอกราชตามสนธิสัญญา เหตุการณ์บ้านเมือง

    ศิลปวัฒนธรรม เครื่องแต่งกาย ก็มีการผสมผสานกันระหว่างชาวยุโรป เอเชีย และตะวันตก

    เครื่องแต่งกายประจำชาติเป็นเสือ้ คอกว้างแบบตะวันตก แขนยกตัง้ เป็นปีกกว้าง ทำด้วยผ้า

    บางและแข็งอย่างไหมสับปะรด นุ่งกระโปรงติดกับเสือ้ เป็นชุดเดียวกัน ส่วนตามเกาะต่าง ๆ มีการ

    แต่งกายแบบคล้ายชาวมลายู และอินโดนีเซีย คือ นุ่งโสร่งปาเต๊ะ สวมเสือ้ ผ้าไหมสับปะรดหรือแพร

    แขนกระบอกยาวจดข้อมือ มีผ้าพาดบ่า ส่วนผู้ชายจะสวมเสือ้ แขนยาวทำจากใบสับปะรด นุ่งกางเกง

    แบบสากล

    การทอผ้าใยสับปะรดทองฟิลิปปินส์ ทอกันมากกว่า 400 ปี หรือมากกว่า การทอใย

    สับปะรดเป็นงานที่ละเอียดอ่อนใช้เวลามาก ใยสับปะรดเป็นเส้นใยที่มีความเหนียวดีมาก โดยเฉพาะ

    เส้นใยของสับปะรดที่ได้จากเมืองอะคลัน

    การแต่งกายของชาวฟิ ลิปปิ นส์

    89

    ศรีลังกา

    ศรีลังกา เป็นเกาะอยู่ในมหาสมุทรอินเดีย อยู่ปลายใต้สุดของประเทศอินเดียมีโคลอมโบ

    เป็นเมืองหลวง เดิมศรีลังกาเป็นอาณานิคมของโปตุเกสและอังกฤษ ต่อมาได้เอกราชเปลี่ยนชื่อ

    เป็นสาธารณรัฐศรีลังกา ปกครองแบบสังคมนิยม สตรีชาวลังกาได้เป็นนายกรัฐมนตรีคนแรกของโลก

    และเอเชีย คือ นางสิริ มาโวบันดาราไนยเก

    การแต่งกาย

    หญิงชายชาวศรีลังกาจะแต่งตัวคล้ายกับชาวอินเดียมาก และมีเขตติดต่อกับอินโดนีเซีย

    จึงได้รับอิทธิพลทัง้ 2 ประเทศปะปนกัน แต่ผู้ชายจะมีวิธีการนุ่งผ้าไม่เหมือนกันทีเดียว จะนุ่งคล้าย

    โจงกระเบน

    การแต่งกายของชาวศรีลังกา

    ปากีสถาน

    ปากีสถาน มีชื่อเต็มคือ สาธารณรัฐอิสลามปากีสถาน ปากีสถานมีความเจริญมาแต่ยุค

    โบราณ ทางด้านการค้า ศิลปวัฒนธรรม เมืองหลวงเก่าคือ การาจี แล้วเปลี่ยนมาสร้างเมืองหลวง

    ใหม่ในภาคเหนือคือ อิสลามาบัด ได้ชื่อว่าเป็นประเทศมุสลิม มีพลเมืองนับถือศาสนาอิสลาม

    หนาแน่นที่สุดเหมือนอินเดีย มีสินค้าที่มีชื่อ คือ ผ้ามัสลิน

    90

    สิ่งทอปากีสถาน

    สิ่งทอของปากีสถาน จะมีความหลากหลายในแต่ละท้องที่ ซึ่งมีสาเหตุมาจาก

    ก. การผสมผสานของรูปแบบสิ่งทอเฉพาะของจังหวัดและแพร่ออกไปสู่ตามบริเวณชายแดน

    ข. การย้ายถิ่นฐาน

    ค. การย้ายของผู้คนจากประเทศต่าง ๆ เช่น อิทธิพลของชาวกรีก พวกมุสลิมในตรุกี

    ง. การมีความสัมพันธ์กับต่างชาติ เช่น จีน และเอเซียกลาง

    การแต่งกาย

    การแต่งกายจะประดับด้วยดอกไม้ แก้วแหวนเงินทอง นุ่งกระโปรงจีบสีดำ ห่มผ้าสีดำ

    ปักลวดลายด้วยไหมสีต่าง ๆ ใส่ตุ้มหู กำไล สร้อยคอ ชายจะแต่งกายคล้ายชาวอินเดีย ใช้ผ้า

    มัสลินตัดเสือ้ ตัวหลวม โพกศีรษะ

    การแต่งกายของชาวปากีสถาน

    ธิเบต

    ธิเบตเป็นประเทศที่มีพืน้ ที่สูงกว่าระดับนำ้ ทะเล ภูมิประเทศเป็นภูเขา อากาศหนาว

    ค่อนข้างแห้งแล้ง ธิเบตมีวัฒนธรรมประเพณีคล้ายคลึงกับชาวจีนมาแต่ดัง้ เดิม มีการปกครองที่มี

    ผู้ปกครองประเทศเป็นพระดำรงตำแหน่งสูงสุดทัง้ การเมือง และศาสนา คือ ดาไลลามะเป็นทัง้

    กษัตริย์ และพระสังฆราช เครื่องแต่งกายดาไลลามะจะครองจีวรเหลือง สวมหมวกโลหะ

    91

    การแต่งกายของชายหญิงชาวธิเบต แต่งเพื่อให้ความอบอุ่นแก่ร่างกาย ใส่เสือ้ คลุมขนแกะ

    ในฤดูหนาว ในฤดูร้อนหญิงจะห่มสาหรี่ผ้าธรรมดาหรือไหม เสือ้ คลุมยาวแค่หัวเข่า สวมหมวกปีก

    ใส่รองเท้าผ้าหรือหนังสัตว์ หญิงที่เกิดในตระกูลสูงจะประดับกายด้วยสร้อยคอ แหวน ปิ่นปักผม

    ตุ้มหู ทุกคนจะมีกล่องใส่ตะกรุดและรูปเทวดาคล้องคอ ผู้ชายจะห้อยไว้ที่เอวถือว่าผู้มีกล่องนีจ้ ะ

    มีเสน่ห์ การแต่งกายของธิเบตจะปนกันระหว่างอินเดีย และจีน

    แบ่งเป็น 2 ประเภท

    1. ชุดไตรจีวร (กาสาวพักตร์) เป็นการแต่งกายของดาไลลามะ ใช้ผ้ายืนยาวที่นำเศษผ้า

    ซึ่งมีขนาดรูปร่าง และสีต่างกันมาต่อกันเป็นผืนสวมรองเท้าบูท สวมหมวกของพระ

    2. ชุดประเพณี การแต่งกายมีแบบหลายอย่าง เช่น

    - เสือ้ คลุมยาวธิเบต ที่เห็นบ่อยที่สุด คือ แบบเอวกว้าง แขนยาว หน้าอกเสือ้ ใหญ่ แบ่ง

    ออกเป็น

    : เสือ้ คลุมยาวธิเบตแบบผู้ชาย

    : เสือ้ คลุมยาวธิเบตแบบผู้หญิง จะแคบหน่อย มีทัง้ แบบมีแขนเสือ้ และแบบไม่มีแขนเสือ้

    - เสือ้ เชิต้ ธิเบต แบ่งออกเป็น

    ผู้ชาย โดยทั่วไปเป็นสีขาว ปกคอเสือ้ สูง มีกระดุม

    ผู้หญิง เป็นลายดอก คอปกพลิกกลับลงมา ไม่มีกระดุม แต่แขนเสือ้ ยาวกว่าแบบ

    ผู้ชายมาก

    - ชุดลำลอง แบ่งออกเป็น

    ผู้ชาย แบ่งออกเป็น 2 ส่วน ส่วนบนเป็นเสือ้ ส่วนล่างเป็นกางเกง เสือ้ ค่อนข้างสัน้

    และเล็กหน่อย โดยทั่วไปเป็นสีดำ และสีขาว

    ผู้หญิง มีเสือ้ ติดกระดุมที่หน้าอกชิน้ เดียวใช้ใส่ทับเสือ้ คลุมยาว

    ชาวเมืองธิเบตนิยมใช้สิ่งทอขนสัตว์ชัน้ สูงมาทำเสือ้ คลุมยาว

    - ในเขตเกษตรกรรมนิยมใช้ ผูหลู่ (สิ่งทอขนแกะ หรือขนจามรี)

    - ในเขตประกอบการปศุสัตว์ นิยมใช้แกะ หรือขนสัตว์อื่นมาทำเพื่อป้ องกันลมหนาว

    ในเวลากลางวัน และใช้แทนผ้าห่มในเวลากลางคืน

    - รองเท้าบูทธิเบตมีหลายชนิด โดยทั่วไปพืน้ รองเท้าแข็งด้านข้างนิ่ม รองเท้าเป็นแบบ

    เรียบ ไม่มีส้น วัตถุดิบที่นำมาทำรองเท้าโดยทั่วไปจะเป็นผูหลู่ หรือหนังฟอก ส่วนด้านการใช้สี

    ค่อนข้างพิถีพิถัน หัวรองเท้ามีทัง้ แบบเหลี่ยมกลม แหลม

    - หมวกธิเบต ทัง้ ผู้ชาย และผู้หญิง จะสวมหมวกที่ทำด้วยสักหลาด หรือขนสัตว์

    92

    หมวกจินติ่งเม่า ทำด้วยผ้าสักหลาด เย็บประดับด้วยเส้นเงินเส้นทอง ปีกหมวกมีลักษณะเป็น

    สี่ด้าน ด้านหน้าและด้านหลังใหญ่ ส่วนด้านซ้ายด้านขวาเล็ก โดยทั่วไปประดับด้วยขนกระต่าย

    หรือขนนก

    วิธีใส่ ผู้หญิง นิยมพับปีกหมวกใหญ่ขึน้ เหลือไว้แต่ปีกหมวกด้านข้าง

    ผู้ชาย นิยมพับปีกหมวกทัง้ ด้านซ้าย ด้านขวา และด้านหลังเหลือไว้แต่ปีกหมวก

    ด้านหน้า

    เครื่องประดับ

    ผู้หญิง สิ่งประดับผมทำด้วยทอง เงิน และทองแดง เสริมด้วยหินปะการังกลางกระหม่อม

    ประดับด้วย “ปาจู” (ไข่มุกชนิดหนึ่ง) เปียยาวประดับไปด้วยเครื่องเงิน คอประดับด้วยสร้อยไข่มุก

    หรือสร้อยหินเขียว หน้าอกประดับด้วย “ข่าอู่” (จีต้ ลับทำด้วยเครื่องเงิน ข้างในบรรจุยันต์) ผ้าคาด

    หน้าท้อง (ปังเตี่ยน) มีสีเป็นสายรุ้ง คล้ายผ้ากันเปื ้อน

    การแต่งกายของชาวธิเบต

    ภูฐาน

    ภูฐานเป็นประเทศเล็ก ๆ รวมอยู่ในประเทศจีน ทางเหนือติดธิเบต ใต้ติดอินเดีย เมืองหลวง

    คือ ภูนาคา ส่วนใหญ่ประเทศเป็นภูเขา ไม่มีทางออกทะเล อารยธรรมและประเพณีต่าง ๆ ได้รับ

    อิทธิพลจากจีน การแต่งกายคล้ายจีน แต่แตกต่างตรงการใช้สีและลวดลายผ้าจะต่างจากจีน ตัวเสือ้

    93

    ข้างในจะมีลักษณะเป็นเสือ้ แขนยาว ป้ ายหน้า และจะมีเสือ้ ผ้าฝ้ ายเสือ้ หนาแขนยาวทับอีกชัน้

    แล้วจะพับแขนเสือ้ ของตัวในที่ยาวออกมาตลบออกไว้ด้านนอกอีกที

    ผ้าทอพืน้ เมือของชาวภูฐานมีทัง้ ผ้าฝ้ ายและผ้าไหม มีสีสันสวยงามเป็นสีจากธรรมชาติ

    เรียกว่า คาลิง (Khaling)

    การแต่งกาย

    หญิง นุ่งชุดที่ทำจากผ้าพืน้ เมือง เรียกว่า คีร่า (Kira) ประกอบด้วย เข็มขัดคาดเอว และ

    เข็มกลัด

    ชาย สวมเสือ้ ที่เรียกว่า โก (Gho) เป็นผ้าฝ้ ายมีหลายลาย ทัง้ ลายทาง ลายทาง ตาหมากรุก

    สีพืน้ ๆ

    แก็บแน่ (Kabne) เป็นผ้าผืนสะพายแล่ง สำหรับผู้ชายใช้ในโอกาสพิเศษทอจากไหมมี

    สีขาว ดำ นำ้ เงิน แดง ส้ม

    การแต่งกายของชาวภูฐาน

    บังคลาเทศ

    บังคลาเทศ มีชื่อเต็ม คือ สาธารณรัฐประชาชนบังคลาเทศ บังคลาเทศมีภูมิประเทศที่

    ตัง้ อยู่ในความโอบล้อมของอินเดีย ฉะนัน้ เรื่องการแต่งกายจึงมีแบบอย่างที่เหมือนกัน

    94

    การแต่งกายของผู้หญิงจะแต่งกาย และเครื่องประดับต่าง ๆ ไม่แตกต่างกับหญิงอินเดีย

    แต่การแต่งกายของชายไม่เหมือนชาวอินเดีย ผู้ชายจะนุ่งผ้าโสร่ง และสวมเสือ้ คลุมมีแถบที่ชาย

    แขนเสือ้ และชายเสือ้ สวมหมวกทรงสูง ไว้หนวดเคราเหมือนชายอินเดีย

    การแต่งกายของชาวบังคลาเทศ

    ประเทศเนปาล

    ประเทศเนปาล มีความสัมพันธ์กับธิเบต และอินเดียมานานแล้ว ฉะนัน้ การแต่งกายของ

    ชาวเนปาลจึงได้รับวัฒนธรรมบางส่วนมาจากอินเดีย และบางส่วนมาจากจีน ประกอบด้วยภูมิอากาศ

    ของเนปาลจะหนาว เครื่องแต่งกายจึงมีหลายชัน้

    การแต่งกายของสตรี นุ่งกระโปรงยาวคร่อมเท้า ห่มสาหรี่ เครื่องประดับงดงามมีสีสัน ใน

    ฤดูหนาวจะใส่เสือ้ ผ้าขนสัตว์ซึ่งทอเอง ตัวยาวถึงข้อเท้า มีผ้าลักษณะคล้ายผ้ากันเปื ้อนสีสวย 2 ชิน้

    คาดข้างหน้า และข้างหลัง

    ผู้ชาย นุ่งกางเกงขายาว สวมเสือ้ ตัวยาว แขนยาว บางคนสวมเสือ้ กัก􀃋 สีต่าง ๆ โพกผ้า

    เหมือนชาวอินเดีย

    95

    การแต่งกายของชาวเนปาล

    สาธารณรัฐประชาชนมงโกเลีย

    จากการศึกษาประวัติศาสตร์ และสภาพภูมิศาสตร์ของสาธารณรัฐประชาชนมงโกเลีย

    ทำให้ทราบว่า ชาวมงโกเลีย มีบรรพบุรุษตัง้ สมัยแต่เจงกีสข่าน ซึ่งมีอาณาเขตกว้างใหญ่ที่สุด ต่อมา

    ก็เสียอาณาจักรให้แก่แมนจูเลีย และต่อมารัสเซียก็ขยายอำนาจเข้าครอบครองอาณาจักรมงโก

    มงโกเลียนับถือศาสนานิกายลามะ ได้รับอิทธิพลมาจากธิเบต และเป็นประเทศแรกใน

    กลุ่มเอเซีย ที่เปิดโอกาสให้สตรีมีสิทธิเท่าเทียมผู้ชาย

    เนื่องจากมงโกเลียอยู่ในความปกครองของจีน การแต่งกายจึงได้รับอิทธิพลจากจีนบ้าง

    จะแตกต่างกันตรงเครื่องตกแต่ง และเนื่องจากสภาพอากาศหนาว จึงต้องสวมเสือ้ ผ้าหนาหลายชัน้

    ลักษณะเป็นเสือ้ คลุมยาวคลุมเข่า แขนยาว ใส่รองเท้าหุ้มสูงคล้ายรองเท้าบูท สวมหมวกทัง้ หญิง

    และชาย ผู้หญิงบางทีใช้ผ้าโพกหัว

    ผ้าของชาวมงโกเลีย โดยทั่ว ๆ ไปจะมีสีแดง เหลือง หรือนำ้ เงินเข้ม

    96

    การแต่งกายของชาวมงโกเลีย

    ประเทศญี่ป่ ุน

    ประเทศญี่ป่ ุนเป็นประเทศที่มีอากาศหนาวเย็น มีฝนตกเนื่องจากมีภูมิประเทศเป็นเกาะ

    เสือ้ ผ้าที่สวมใส่จึงต้องให้ความอบอุ่น เรียกว่า “กิโมโน” ซึ่งเป็นเสือ้ คลุมยาวถึงเท้า แต่ปัจจุบันแต่ง

    กายแบบสากลนิยมตะวันตก เนื่องจากกิโมโนมีราคาแพง และไม่สะดวกต่อการทำงานประจำวัน

    จึงแต่งเฉพาะโอกาสพิเศษวันฉลองครบรอบ 20 ปี ของหนุ่มสาว หรือในพิธีแต่งงาน มีผ้าคาดเอว

    ของสตรี เรียกว่า “โอบิ” ทำให้ดูไม่รุ่มร่าม มีสีตัดกับกิโมโน สวมถุงเท้า เรียกว่า “ทาบิ” รองเท้า

    เรียกว่า “โซบิ”

    ชุดกิโมโนในสมัยโบราณจริง ๆ จะสวมทับกันหลายชัน้ โดยเฉพาะตระกูลขุนนนางจะสวม

    ถึง 12 ชัน้ แต่ปัจจุบันจะสวมทับกันเพียง 2 – 3 ชัน้ เท่านัน้

    เครื่องแต่งกาย นอกจากกิโมโนแล้วยังมีเครื่องแต่งกายอื่นอีก เช่น

    1. เสือ้ แฮปปี ้ เป็นเสือ้ ชัน้ นอกสีดำ สำหรับคนงานแต่ละท้องถิ่นไม่เหมือนกัน

    2. เสือ้ ฮาโอริ เป็นเสือ้ ชัน้ นอกสีดำเช่นกัน จะมีลวดลายเป็นสีขาวหรือเครื่องหมาย

    นามสกุล

    3. เสือ้ ฮะกามา เป็นเสือ้ ที่มีรูปร่างคล้ายกางเกงขากว้าง ใช้ในงานพิธี

    4. ยูกาตะ (Yukata) เป็นกิโมโนชนิดหนึ่งทำจากผ้าฝ้ าย ใส่ได้ทัง้ ชายและหญิง สีไม่สด

    เป็นชุดที่ใส่อยู่กับบ้านหลังจากอาบนำ้ เสร็จแล้ว ต่อมาได้มีการนำชุดยูกาตะมาใส่ในงานประเพณี

    และเทศกาลในฤดูร้อน ทำให้มีลวดลายสีสันขึน้ ชุดผู้หญิงจะมีสีสันมากกว่าชาย

    97

    5. โกโซเดะ (Kosode) เป็นชุดกิโมโนของผู้หญิงที่แต่งงานแล้ว เป็นชุดกิโมโนแขนยาว

    ธรรมดา “ฟูริโวเดะ” เป็นกิโมโนของหญิงสาวที่ยังไม่ได้แต่งงานมีแขนยาวกว้างเป็นพิเศษ

    การแต่งกายของขาวญี่ป่ ุน

    เกาหลี

    ประเทศเกาหลีมาจากชื่อแคว้น คือ คอกริโย ภายหลังเรียกว่า คอริโย ประเทศเกาหลีเป็นชาติ

    เอเซียที่น่าสนใจมาก คือ การรู้จักคิด และสร้างหอดูดาวหอแรกของโลก หลังสงครามโลกครัง้ ที่ 2

    เกาหลีใต้ มีโซล หรือเซอูลเป็นเมืองหลวง เป็นสาธารณรัฐเกาหลี

    เกาหลีเหนือ มีเปียงยางเป็นเมืองหลวง เป็นสาธารณรัฐประชาชนเกาหลีปกครอง

    ระบบสังคมนิยม

    การแต่งกายชาวเกาหลีมีชุดแต่งกายประจำชาติตัง้ แต่สมัยโบราณเรียกว่าฮันบก มี

    ลักษณะหลวม ๆ ไม่ใช้กระดุม แต่ใช้ผ้าเย็บเป็นเส้นใช้ผูกแทน

    หญิง สวมกระโปรงทรงหลวมยาวถึงข้อเท้า สวมเสือ้ คลุมผ่าอกตัวสัน้ ๆ อยู่เหนือเอว

    แขนยาวถึงข้อมือ ฮันบกไม่มีปก ตัวเสือ้ ไขว้กัน มีโบว์ผูกที่อกด้านขวา เรียกว่า “จอโกลี” หน้าหนาว

    จะสวมทูรูมาคี ถุงเท้าเรียกว่า ฟอซ็อน สวมรองเท้ายาวสีขาว มีปลายงอนเล็กน้อย เรียกว่า โกมูซิน

    มีผ้าผูกที่หน้าอกในแทนเสือ้ ยกทรง เรียกว่า ซ๊อกซีมา กระโปรงกับเสือ้ คลุมจะสีเดียวกันก็มี คนละ

    หน้า 98

    สีก็มี กระโปรงเรียกว่า ซีมา ทำด้วยผ้าฝ้ ายไหมอย่างดี ผ้าไหมของเกาหลีเนือ้ หนา มีนำ้ หนักมาก

    มีจีบรอบขึน้ มาเหนืออกมีผ้าขลิบตามคอ สีจะติดกับแขน ทรงกระโปรงจะเรียกว่า ทรง Empire

    ชาย สวมกางเกงขายาวสีขาวหลวม ๆ เรียกว่า บาจี รวบปลายขาด้วยแถบผ้าเรียกว่า

    “แทนิน” สวมถุงเท้า เรียกว่า “ยังมัล” สวมเสือ้ แขนสัน้ รัดรูปแขนสัน้ ไว้ข้างในเรียกว่า “บันโซเม”

    สวมเสือ้ หลวม ๆ หรือแต่งแบบชาวตะวันตก เสือ้ ประจำชาติเป็นเสือ้ ตัวยาว แขนยาวไม่มีปกไม่มี

    กระเป๋ า เรียกว่า “จอโกรี” แต่บางทีสวมเสือ้ กัก􀃋 ไม่มีแขน มีกระเป๋ าเรียกว่า “โจ๊ะกี” ผู้ชายนิยมสวม

    หมวกสีดำ ไม่มีปีกเหมือนผ้าโปร่ง รัดรอบศีรษะ เรียกว่า “ท้งก็อน” แล้วสวมหมวกทรงสูงมีปีก

    เรียกว่า “คัช”

    การแต่งกายของชาวเกาหลี

    จีน

    ประวัติความเป็นมาของจีนนัน้ มีการปกครอง และการเปลี่ยนแปลงหลายราชวงค์ตัง้ แต่

    ราชวงค์ซ้ง (Shang) ราชวงค์โจ (Chou) ราชวงค์ฉิน (Chin) ราชวงค์ฮั่น ราชวงค์ซ้อง หรือ ซุ่ง

    (Sung) ราชวงค์เหม็ง จนกระทั่งชาวแมนจูได้เข้ามาปกครองจีน และมีอำนาจจนเปลี่ยนการปกครอง

    เป็นสาธารณรัฐ เมื่อปี พ.ศ. 2455

    เนื่องจากภูมิประเทศของจีนเป็นประเทศที่อยู่ในเขตอากาศหนาวจัด จึงมีความจำเป็นต้อง

    ปกปิดร่างกายด้วยเสือ้ ผ้าที่ให้ความอบอุ่น และมิดชิด แขนเสือ้ กว้างใหญ่และยาวเพื่อเก็บมือไว้ได้

    99

    สมัยก่อนยังไม่รู้จักใช้ถุงมือ ตัวเสือ้ จะยาวคร่อมเท้า แบบเสือ้ จะเป็นเสือ้ ป้ ายซ้อนกันที่หน้าอก

    เพื่อให้เกิดความอบอุ่น และสวมกางเกงขายาวไว้ข้างใน

    สาธารณรัฐประชาชนจีน ชายจะสวมเสือ้ คอปิด แขนยาว สีนำ้ เงินหรือดำเรียกว่าจงหาน

    หรือชุดเหมา หญิงสวมชุดติดกันเข้ารูป เสือ้ คอปิดหรือป้ ายอก เรียกว่า ฉ่งชำ

    ไต้หวัน

    ไต้หวันเป็นภาษาจีน เดิมชื่อ ฟอร์โมซา เป็นภาษาโปตุเกส แต่ก่อนไต้หวันอยู่ในความ

    ปกครองของจีน เริ่มมีชาวจีนจากกวางตุ้ง และฟูเรียน อพยพเข้ามาอยู่ตามบริเวณฝั่งต่อมาก็มี

    ชาวตะวันตกเข้ามา เช่น ชาวโปตุเกส ดัทช์ สเปน ต่อมาชาวดัทช์กับชาวสเปนเกิดสงครามแย่งชิง

    ดินแดนกัน ชาวสเปนแพ้จึงยกทัพหนีไป ชาวดัทช์ หรือฮอลันดาก็ยึดครองเกาะไต้หวัน ประมาณ 38 ปี

    ต่อมาประเทศจีนเกิดสู้รบกันระหว่างราชวงค์หมิงและราชวงค์แมนจู กษัตริย์ราชวงค์หมิ

    งกลัวราชวงค์แมนจูจะยึดแผ่นดินจีน จึงนึกถึงเกาะไต้หวัน จึงส่งกองทัพไปยึดเกาะไต้หวันคืนจาก

    ชาวดัทช์ได้ ต่อมาญี่ป่ ุนได้ยึดเกาะไต้หวันได้อีก เนื่องจากประวัติศาสตร์ความเป็นมาของเกาะ

    ไต้หวันมีการเปลี่ยนแปลง ส่วนใหญ่ชาวไต้หวันจึงรับเอาวัฒนธรรมจากชาวจีนและญี่ป่ ุนบ้าง และเจ้า

    ของเดิมซึ่งมีทัง้ ชาวเล และชนเผ่าเกาซาน ซึ่งมีเชือ้ สายพวกฮั่นเก่า มีการสักบนใบหน้าบางเผ่าก็

    แต่งกายประดับประดางดงาม นิยมแบบอย่างชาวจีน ส่วนใหญ่สตรี สวมชุดกี่เพ้า คือ สวมเสือ้ ป้ า

    ยอก คอตัง้ และกระโปรงจะผ่ามาเหนือเข่าทัง้ 2 ข้าง ปัจจุบันจะแต่งกายตามชุดสากลนิยมแล้วเพื่อ

    ความสะดวก

    การแต่งกายของชาวจีนและไต้หวัน

    100

    ประเทศอินเดีย

    อินเดียเป็นแผ่นดินที่ทอดยาวจากเทือกเขาหิมาลัยมายังมหาสมุทรอินเดีย เป็นทวีปใน

    เอเชียใต้ที่ใหญ่เป็นอันดับที่ 7 ของโลก มีพลเมืองเป็นที่สองรองจากจีน มีประธานาธิบดีเป็นหัวหน้า

    บริหาร ภาษาโบราณคือ สันสกฤตและบาลี ภาษาทางราชการคือฮินดี เมืองหลวงคือ นิวเดลี

    อารยธรรมของอินเดียในสมัยก่อนราวห้าพันปีมาแล้ว มีศูนย์กลางอยู่ที่บริเวณแห่งหนึ่งซึ่งชาวเมือง

    เรียกว่าโมเฮนคาโร ริมฝั่งแม่นำ้ สินธุในประเทศปากีสถาน ปัจจุบันนีจ้ มลงดินไปแล้ว

    วัฒนธรรมของอินเดียโบราณ เมื่อครัง้ ที่ชาวอริยะกะเข้าครอบครองได้แบ่งชัน้ ออกเป็น

    วรรณะต่าง ๆ 4 วรรณะ คือ

    พราหมณ์ ได้แก่ ตระกูลนักบวช

    กษัตริย์ ได้แก่ ตระกูลนักรบ

    แพศย์ ได้แก่ เป็นพลเมืองชัน้ กลาง

    ศูทร์ ได้แก่ พวกกรรมกร

    วัฒนธรรมต่าง ๆ ของชาวอินเดียจะผูกพันกับศาสนา ไม่ว่าจะเป็นฮินดูหรือพุทธ

    วัฒนธรรมการแต่งกายของอินเดียเนื่องจากประเทศอินเดียมีภูมิประเทศค่อนข้างแห้งแล้ง อากาศ

    ร้อน จะมีผ้าสำหรับนุ่งและห่มใช้เป็นเครื่องปกปิดร่างกายเท่านัน้ และเนื่องจากมีชาวอาหรับเข้ามา

    รุกรานจึงรับวัฒนธรรมอาหรับด้วย

    การทอผ้ามัดหมี่และผ้ายกของอินเดีย

    ผ้าอินเดียแบบดัง้ เดิม พิมพ์โดยใช้สีสด ซึ่งมีความเชื่อว่า สิ่งทอสีสดและหลากหลายสีเป็น

    เอกลักษณ์เดิมของชาวอินเดีย และนิยมผ้าทอจากกี่ ไม่ว่าจะเป็นเสือ้ ผ้า เครื่องใช้ต่าง ๆ ใน

    ชีวิตประจำวันและโอกาสพิเศษล้วนแต่ทอด้วยมือโดยใช้กี่ การทอผ้าด้วยมือของอินเดียจะมี

    ลักษณะแตกต่างกันในแต่ละรัฐ ซึ่งจะใช้ผ้าคลุมไหล่ของท้องถิ่นเพื่อแสดงถึงความแตกต่างของ

    เอกลักษณ์ในสังคมของตน ในวันสำคัญทางศาสนาต่าง ๆ จะมีวิธีการแต่งตัวและสีสันของเสือ้ ผ้า

    แตกต่างกัน โดยเฉพาะความยาวและวิธีการแต่งสาหรี่ ซึ่งเป็นชุดประจำชาติของผู้หญิงอินเดีย

    ผ้าคาดี เป็นผ้าฝ้ ายดิบ เนือ้ หยาบ เป็นศิลปหัตถกรรมอันเก่าแก่ มีความสำคัญทาง

    การเมืองด้วย

    ผ้าปาโตลา เป็นผ้ามัดหมี่ของรัฐกุจารัฐ ถือว่าเป็นตัวอย่างที่ดีที่สุดของกรรมวิธีในการ

    ทอผ้ามัดหมี่ ผ้าสาหรี่ ปาโตลาได้รับการสงวนไว้ใช้ในชุดแต่งงานของเจ้าสาว มีลักษณะเป็นสีสด

    เช่น สีแดง สีเขียว และสีคราม ออกแบบด้วยรูปเรขาคณิต ดอกไม้ นกและสัตว์ต่าง ๆ รวมทัง้

    ศิลปะการร่ายรำ

    101

    ผ้าเทเลีย รูมัล (telia rumal) เป็นผ้ามัดหมี่ใช้นุ่งพันท่อนล่างของร่างกายและบางครัง้ ใช้

    โพกศีรษะ ปัจจุบันกำลังจะสูญหายไป รัฐบาลอินเดียและหน่วยงานต่าง ๆ พยายามร่วมมือกัน

    เพื่อจะ รือ้ ฟื ้นกรรมวิธีและรูปแบบการทอผ้าชนิดนี ้

    ผ้าจัมดานี (ผ้ามัสลิน) เป็นผ้าทอยกดอกที่มีรูปภาพและลวดลายที่งดงามที่สุดที่นิยม

    จะเป็นลายดอกไม้และใบไม้ แต่ที่สะดุดตาที่สุดของผ้าสาหรี่จัมดานี คือลายโคเนีย เป็นลายดอก

    มะม่วงบนชายผ้า

    ผ้าสาหรี่ เป็นผ้าที่สวยงามและมีราคาแพงจะทอยกดิน้ ทองหรือเงิน ผ้าดอกจากเมือง

    พาราณสีในอินเดียทางเหนือ เป็นตัวอย่างสำคัญของการทอผ้าของอินเดีย ผ้าสาหรี่เป็นวิธีการ

    นุ่งผ้าเฉพาะผู้หญิง ความยาวของผ้าประมาณ 6 หลา มีสีสันและลวดลายต่าง ๆ การวางลายของ

    ผ้าสาหรี่มีกรองลายที่แน่นอน โดยรอบผืนผ้าทัง้ สี่ด้าน มีการทำลายที่แตกต่างจากลายตรงกลาง

    ผืนผ้า ด้านที่เป็นชายผ้ามีการขยายลายให้เห็นชัดว่าเป็นชายผ้า

    การนุ่งผ้าสาหรี่จะนุ่งพันรอบตัวหนึ่งรอบ แล้วนำผ้ามาพับจีบด้านหน้าบางส่วนแล้วจึง

    นำผ้าที่เหลือมาพันโอบไปด้านหลัง จากนัน้ นำชายผ้าที่เหลือมาตวัดคลุมไหล่ ให้เหลือผ้าทิง้ ชาย

    ลงไปทางด้านหลัง

    ผ้าโรตี (Dhoti) เป็นวิธีการนุ่งผ้าทัง้ ชายและหญิงชาวอินเดีย

    ผ้าโรตีของผู้ชาย มีความยาว 6 หลา เป็นผ้าพันสีนวล หรือสีขาว

    ผ้าโรตีของผู้หญิง มีความยาว 9 หลา เป็นผ้าที่มีสีสันลวดลายต่าง ๆ

    การนุ่งผ้าโรตี จะพับจีบด้านหน้าจากชายผ้าทัง้ ซ้ายและขวาและนำมาทบเหน็บทางด้าน

    ลำตัว แล้วจึงเอาผ้าที่เหลืออีกด้านไปเหน็บไว้ด้านหลัง

    ผู้ชายชาวอินเดียจะนุ่งโรตีทั่วไป แต่ผู้หญิงที่นุ่งโรตีมักจะอยู่ทางอินเดียใต้ ชายผ้าโรตีของ

    ผู้หญิงจะไม่เหน็บเก็บหมด แต่จะเหลือชายผ้าด้านหนึ่งไว้คลุมไหล่

    การแต่งกาย

    ชาวอินเดียโบราณ จะแต่งตัวคล้ายของไทยสมัยเชียงแสน ต่อมาสตรีนิยมสวมเสือ้ แขนยาว

    แบบชาวจีน แต่ตัวสัน้ เห็นหน้าท้อง นุ่งกางเกงขาลีบช้างใน ใช้ผ้าบาง ๆ เช่น ฝ้ ายลินิน มัสลิน

    อย่างดีห่มอีกชัน้ ถ้าเป็นชาวพืน้ เมืองจะนุ่งสาหรี่ หรือกระโปรงจีบดอกสีแดง หรือนุ่งกางเกงขาว

    ขายาว ส่วนชายนุ่งผ้าขาวใส่เสือ้ แขนยาว ไว้หนวดเครา โพกผ้า

    102

    การแต่งกายของชาวอินเดีย

     

     

    http://human.cmu.ac.th/~hc/ebook/006216/006216-05.pdf

     

     

     

    โครงการ 8.2 การแต่งกายชาติต่างๆ2553
    การประกวด Miss Universe 2010 มิสยูนิเวิร์ส 2010 
    คลิ๊กที่นี่

     

    ผลคะแนน ชุดประจำชาติ มิสยูนิเวิร์ส ประกาศแล้ว

    ชุดประจำชาติไทย คว้าที่ 3

     

    ที่ 1 ชุดประจำชาติ Panama คว้าไปครอง

     

    ชุดประจำชาติ Nicaragua

    อันดับที่ 2 ชุดประจำชาติ Nicaragua

     

    ชุดประจำชาติไทย

    ชุดประจำชาติไทย คว้าที่ 3 ไปครอง

     

     

    ***************************************

     

    ชุดประจำชาติ มิสยูนิเวิร์ส 2009 จากทั่วทุกประเทศ มาแล้วจ้า

    น้องไข่มุก โชว์ ชุดประจำชาติ

     

    น้องไข่มุก โชว์ ชุดประจำชาติ  เมื่อ วันที่ 11 ส.ค. ที่กรุงนัสเซา รัฐบาฮามาส  กองประกวดนางงามจักรวาล 52 ได้ให้สาวงามทั้ง 84 คน เดินอวดโฉมในการ ประกวด ชุดประจำชาติ เพื่อให้คณะกรรมการพิจารณาเก็บคะแนน โดย น.ส.ชุติมา ดุรงค์เดช หรือน้องไข่มุก มิสไทยแลนด์ยูนิเวิร์สปี 52 ใส่ ชุดประจำชาติ “ญ.งามท้องถิ่นสุวรรณภูมิ” ท่อนบนเป็นผ้ายืดสีเนื้อคาดอก ท่อนล่างใช้ผ้าคอต ตอนพิมพ์ลายไทย โทนสีน้ำตาลแดงและทอง บริเวณหน้านางปักด้วยลวดสีทองลายนูนรูปช้าง ประดับห่วงทองเหลืองสไตล์ชาวไทยภูเขา ในขณะที่มิสเอกวาดอร์ สวมใส่ชุดสีเหลืองอร่าม พร้อมถือตะกร้าผลไม้นานาชนิด ซึ่งจะประกาศผลในรอบสุดท้ายวันที่ 24 ส.ค. เวลา 08.00 น.

     

      ส่วน ชุดประจำชาติ จาก ชาติอื่นๆ มาดูกันเลยค่ะ ว่าชาติไหนเลิศสุด 

     

     

    ชุดประจำชาติ มิสยูนิเวิร์ส 2009

    ซ้าย :  Brazil   ขวา :  Vietnam

     

    ชุดประจำชาติ มิสยูนิเวิร์ส 2009

    ซ้าย :  Indonesia   ขวา : Peru

     

     

    ชุดประจำชาติ มิสยูนิเวิร์ส 2009

    ซ้าย :  Venezuala   ขวา :  alvador

     

     

    ชุดประจำชาติ มิสยูนิเวิร์ส 2009

    ซ้าย : Thailand   ขวา : Bolivia

     

     

    ชุดประจำชาติ มิสยูนิเวิร์ส 2009

    ซ้าย : colombia   ขวา : mincanRepublic

     

     

    ชุดประจำชาติ มิสยูนิเวิร์ส 2009

    ซ้าย : Mexico   ขวา : Phillipines

     

     

    ชุดประจำชาติ มิสยูนิเวิร์ส 2009

    ซ้าย : Guam   ขวา : Serbia

     

    ชุดประจำชาติ มิสยูนิเวิร์ส 2009

    ซ้าย : Iceland  ขวา : Ecuador

     

     

    ชุดประจำชาติ มิสยูนิเวิร์ส 2009

    ซ้าย : Russia   ขวา : Jamaica

     

     

    ชุดประจำชาติ มิสยูนิเวิร์ส 2009

    ซ้าย : czech republic  ขวา : Ukraine

     

     

    ชุดประจำชาติ มิสยูนิเวิร์ส 2009

    ซ้าย : Panama   ขวา : Slovak Republic

     

     

    ชุดประจำชาติ มิสยูนิเวิร์ส 2009

    ซ้าย : Bahamas   ขวา : Great Britain

     

     

     

    ชุดประจำชาติ มิสยูนิเวิร์ส 2009

    ซ้าย : Lebanon   ขวา : Guatamala

     

     

    ชุดประจำชาติ มิสยูนิเวิร์ส 2009

    ซ้าย : Hondurus   ขวา : Argentina

     

     

    ชุดประจำชาติ มิสยูนิเวิร์ส 2009

    ซ้าย : Canada   ขวา : puertorico

     

     

     

    ชุดประจำชาติ มิสยูนิเวิร์ส 2009

    ซ้าย : Finland   ขวา : Nicaragua

     

     

     

    ชุดประจำชาติ มิสยูนิเวิร์ส 2009

    ซ้าย : Australia   ขวา : Hungary

     

     

     

    ชุดประจำชาติ มิสยูนิเวิร์ส 2009

    ซ้าย : CostaRica   ขวา : France

     

     

    ชุดประจำชาติ มิสยูนิเวิร์ส 2009

    ซ้าย : Belgium   ขวา : NewZealand

     

     

     

    ชุดประจำชาติ มิสยูนิเวิร์ส 2009

    ซ้าย : USA   ขวา : Ethiopia

     

     

    ชุดประจำชาติ มิสยูนิเวิร์ส 2009

    ซ้าย : India   ขวา : Sweden

     

     

     

    ชุดประจำชาติ มิสยูนิเวิร์ส 2009

    ซ้าย : Spain   ขวา : Netherlands

     

     

     

    ชุดประจำชาติ มิสยูนิเวิร์ส 2009

    ซ้าย : Kosovo   ขวา : Greece

     

     

     

    ชุดประจำชาติ มิสยูนิเวิร์ส 2009

    ซ้าย : Romania   ขวา : Ireland

     

     

     

    ชุดประจำชาติ มิสยูนิเวิร์ส 2009

    ซ้าย : Paraguay   ขวา : SouthAfrica

     

     

     

    ชุดประจำชาติ มิสยูนิเวิร์ส 2009

    ซ้าย : Montenegro  ขวา : Georgia

     

     

     

    ชุดประจำชาติ มิสยูนิเวิร์ส 2009

    ซ้าย : Angola    ขวา : Albania

     

     

     

    ชุดประจำชาติ มิสยูนิเวิร์ส 2009

    ซ้าย : Zambia   ขวา : Italy

     

     

     

    ชุดประจำชาติ มิสยูนิเวิร์ส 2009

    ซ้าย : Korea  ขวา : stonia

     

     

     

     

    ชุดประจำชาติ มิสยูนิเวิร์ส 2009

    ซ้าย : Japan   ขวา : Switzerland

     

     

     

    ชุดประจำชาติ มิสยูนิเวิร์ส 2009

    ซ้าย : Turkey   ขวา : Singapore

     

     

     

     

    ชุดประจำชาติ มิสยูนิเวิร์ส 2009

    ซ้าย : Norway   ขวา : Cyprus

     

     

     

    ชุดประจำชาติ มิสยูนิเวิร์ส 2009

    ซ้าย : Tanzania   ขวา : Poland

     

     

     

    ชุดประจำชาติ มิสยูนิเวิร์ส 2009

    ซ้าย : Aruba   ขวา : Croatia

     

     

     

    ชุดประจำชาติ มิสยูนิเวิร์ส 2009

    ซ้าย : China   ขวา : Nigeria

     

     

    ชุดประจำชาติ มิสยูนิเวิร์ส 2009

    ซ้าย :  Israel   ขวา : Mauritius

     

     

     

    ชุดประจำชาติ มิสยูนิเวิร์ส 2009

    ซ้าย : Namibia   ขวา : Cayman Islands

     

     

     

    ชุดประจำชาติ มิสยูนิเวิร์ส 2009

    ซ้าย : Ghana  ขวา :  Slovenia

     

     

     

    ชุดประจำชาติ มิสยูนิเวิร์ส 2009

    ซ้าย : germany    ขวา : Guyana

     

     

     

     

    ชุดประจำชาติ มิสยูนิเวิร์ส 2009

    ซ้าย : Malaysia   ขวา : Uruguay

     

     

     

    ชุดประจำชาติ มิสยูนิเวิร์ส 2009

    ชุดประจำชาติ : turksandCaicos

     

     

     

    ชุดประจำชาติ มิสยูนิเวิร์ส 2009

    ชุดประจำชาติ : Curacao

     

     

     

    ชุดประจำชาติ มิสยูนิเวิร์ส 2009

    ชุดประจำชาติ : Egypt

     

       เครดิต ภาพจาก www.missuniverse.com

     

     

    miss universe 2009 กับชุดประจำชาติที่ประหลาดขึ้นทุกปี

    รำลึกชุดประจำชาติ miss universe 2005-2009 กับที่ไอเดียบรรเจิดขึ้นทุกปี

    ความเปลี่นแปลงและการแข่ขันบนเวทีขาอ่อนที่สร้างสรรค์และรุนแรงขึ้นทุกปี

     

     

     

     

     

     

     

     

     

     

     

     

     

     

     


    คลิ๊กนี้มีความหมาย